รวมมติ ค.ร.ม. มติ ก.พ. และระเบียบที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือน
แฟ้มข้อมูล
ประเภททรัพยากร
ฉบับพิมพ์
8
จำนวนหน้า/ขนาด
561
หน่วยงานที่เผยแพร่
สวัสดิการสำนักงาน ก.พ. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
วันที่เผยแพร่
2543
วันที่จดลิขสิทธิ์
ISBN
ISSN
DOI
เลขที่หนังสือราชการ
เลขเอกสาร
หมวดหมู่
KE 65
เลขเรียกหนังสือ
รหัสบ่งชี้อื่นๆ
แหล่งจัดเก็บต้นฉบับ
บุคคล/หน่วยงานที่จัดส่งเอกสาร
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เป็นส่วนหนึ่งของ
อ้างอิงโดย
เวอร์ชัน
มีพื้นฐานจาก
แหล่งที่มา
ข้อมูลอ้างอิง
สิทธิ์ในการใช้งาน
สิทธิ์ในการเข้าถึง
เจ้าของสิทธิ์
ข้อมูลอ้างอิง
(2000). รวมมติ ค.ร.ม. มติ ก.พ. และระเบียบที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือน. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14156/460631.
ชื่อเรื่องอื่น
ผู้แต่ง
ผู้แต่ง (หน่วยงาน)
ผู้รวบรวม/ผู้เรียบเรียง
ที่ปรึกษา/อาจารย์ที่ปรึกษา
คณะกรรมาธิการ
ผู้ร่วมงานอื่นๆ
ผู้เสนอ : ชื่อ-นามสกุล
ผู้เสนอ : ประเภทสมาชิก
ผู้เสนอ : พรรคที่สังกัด
ผู้เสนอ : จังหวัดที่สังกัด
วันที่เสนอ
วันที่บรรจุระเบียบวาระ
วันที่ประชุม
ครั้งที่ประชุม
ประเภทการประชุม
ประเภทเรื่องที่ประชุม
สถานะการพิจารณา
ประเภทสภา
มติที่ประชุม
สมัยประชุม
ครั้งที่ของสมัยประชุม
สภาชุดที่
สภาปีที่
หมายเลขกระทู้ถาม
ชนิดของกระทู้ถาม
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ประเภทสมาชิก
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : พรรคที่สังกัด
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : จังหวัดที่สังกัด
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ตำแหน่ง
รัฐมนตรีประจำกระทรวง
กระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ผู้อภิปราย
ประเภทการอภิปราย
หัวข้อการอภิปราย
วันที่อภิปราย
ผู้ชี้แจง
ชื่อปริญญา
ระดับปริญญา
สาขาวิชา
ภาควิชา
ผู้ประสาทปริญญา
เนื้อเรื่องย่อ
สารบัญ
ปกหน้า
คำนำ
สารบัญ
27. การเสพสุรา-เล่นการพนัน
-1. แนวทางสำหรับลงโทษข้าราชการที่เล่นการพนัน ม. 4275/81
10. ข้าราชการที่ต้องคดีอาญา
-1. ให้ข้าราชการผู้ต้องหาคดีอาญา คดีแพ่งหรือคดีล้มละลายรายงานให้เจ้าสังกัดทราบ น 826/82
9. การดำเนินคดีอาญาซึ่งรัฐเป็นโจทก์หรือจำเลย
-1. ให้สอบสวนข้อเท็จจริงให้ประจักษ์ก่อนส่งเรื่งอให้ตำรวจ 16/86
31. การเรี่ยไร
-1. ห้ามมิให้กระทรวงทบวงกรมต่างๆ เรี่ยไร ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม 173/87
13. การสั่งลงโทษ
-1. ผู้ใดกระทำผิดวินัย ไม่ควรใช้วิธีย้ายเป็นการลงโทษ 68/91
4. การสอบสวน
-1. การตั้งข้าราชการต่างกระทรวงเป็นกรรมการสอบสวนในเรื่องอื่น 178/82
22. ข้าราชการประกอบการค้า
-1. ให้ผู้บังคับบัญชากวดขันมิให้ข้าราชการประกอบการค้า 138/93
34. การรักษาความลับในราชการ
-1. ห้ามมิให้เอาเรื่องราชการลับและเรื่องที่ยังไม่เปิดเผยไปเผยแพร่ 158/94
39. การโต้วาที
-ให้ข้าราชการหลีกเลี่ยงในการเข้าร่วมโต้วาที
41. การปฏิบัติหน้าที่ราชการ
-1. ให้พิจารณาลงโทษทางวินัยแก่ผู้ปฏิบัติคั่งค้างล่าช้า 293/95
-2. ให้กวดขันวินัยในเรื่องการเสพสุราและเล่นการพนัน 300/95
23. การทำไม้และค้าไม้ บุกรุกแผ้วถางป่า
-1. ห้ามข้าราชการและครอบครัวทำไม้และค้าไม้ 69/96
-3. ห้ามเสพสุราขับรถยนต์ 156/96
-4. แนวางการลงโทษข้าราชการเล่นการพนันและการเสพสุรา 208/96
-2. ให้กรมตำรวจและกรมอัยการร่วมมือช่วยหาหลักฐานเต็มที่ 220/96
-2. การลงโทษตัดเงินเดือนให้เป็นไปตามบัญชีท้าย 244/96
-2. ให้งดเรี่ยไรซื้อของขวัญให้ผู้บังคับบัญชาในโอกาสต่างๆ 281/96
24. การปฏิบัติเกี่ยวกับการเงิน
-1. ให้กำชับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบการจ้างและพัสดุโดยเคร่งครัด 37/97
32. การรักษาความสามัคคี
-1. ให้ผู้บังคับบัญชาสอดส่องกวดขันเพื่อป้องกันมิให้ข้าราชการแตกสามัคคี 38/97
-2. ให้เจ้าสังกัดเร่งรัดการสอบสวนพิจารณาให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว 41/97
48. ทั่วๆ ไป
-1. ให้มีการตรวจโรคแก่ข้าราชการเป็นประจำทุกปี 59/97
-2. ให้พิจารณาโทษผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ชอบหรือละเลยไปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 89/97
-3. ให้กรมกระทรวงเจ้าของคดีค้นหาหลักฐานที่พนักงานอัยการสั่งหรือแนะนำ ถ้าไม่อาจกระทำได้โดยลำพังก็ควรขอให้กรมตำรวจช่วยเหลือ 95/97
21. การละทิ้งหน้าที่ราชการ
-1. ขาดราชการ นอกจากถูกลงโทษทางวินัยแล้ว วันขาดไม่จ่ายเงินเดือน 152/97
-2. ห้ามข้าราชการใช้อิทธิพลเข้าดูภาพยนตร์และโดยสารรถประจำทางโดยไม่เสียเงิน 205/97
30. การเล่นแชร์
-ห้ามข้าราชการและพนักงานขององค์การรัฐบาลเล่นแชร์ 12/98
-2. ข้าราชการที่เป็นกรรมการในบริษัทที่ประกอบการค้าไปในทางไม่สุจริตต้องรับผิดในทางวินัย 73/98
11. การสั่งพักราชการ
-1. ให้เร่งรัดผู้ทำการสอบสวนและดำเนินคดีให้เสร็จโดยเร็ว 102/98
-2. ให้รีบดำเนินคดีแก่ผู้ถูกสั่งพักให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว 124/98
29. การสูบฝิ่น
-1. ระเบียบการลงโทษข้าราชการสูบฝิ่น 152/98
-3. ไม่ให้ข้าราชการประกอบการค้าและให้เลิกการค้าประเภทผูกขาด 1778/98
-4. ประกาศของคณะรัฐมนตรีเรื่องข้าราชการประกอบการค้า
-5. คำอธิบาย
28. การเล่นการพนันสลากกินรวบ
-1. ให้ดำเนินคดีและลงโทษข้าราชการที่เล่นการพนันสลากกินรวบอย่างน้อยให้ออกจากราชการ 280/98
-2. แก้ไขระเบียบการลงโทษข้าราชการสูบฝิ่น 228/99
-3. ห้ามเรี่ยไรเพื่อต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้ไปตรวจราชการโดยเด็ดขาด 15/01
33. การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
-1. ให้ข้าราชการเป็นมิตรกับประชาชนและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน 111/01
-2. กวดขันข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทุกคน รัฐมนตรีทุกท่านช่วยกันรักษาความลับโดยเคร่งครัด แม้จะไม่เป็นความลับ แต่ยังไม่สมควรจะเปิดเผย ก็ให้ระงับยับยั้งไว้ก่อน 7/02
-4. ให้กำชับหน่วยราชการต่างๆ อย่าให้มีการเรี่ยไรและให้ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยเคร่งครัด 10/03
-2. ให้ข้าราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นมิตรกับประชาชนและอำนวยความสะดวกและตามสมควร ห้ามกดขี่ข่มเหง 102/04
-2. การเก็บรักษาเงินของหน่วยราชการ 110/04
-2. ให้กำชับให้ข้าราชการร่วมมือร่วมใจกันทำงานด้วยความสามัคคีถ้าฝ่าฝืนให้ลงโทษ 11/05
19. การเปลี่ยนแปลงโทษ
-1. การลงโทษ ไล่ ปลด หรือให้ออก เป็นการพ้นราชการโดยมีเงื่อนไขยังไม่เด็ดขาด อาจเปลี่ยนแปลงโทษได้ 36/05
-3. ห้ามมิให้มีการแสดงฟลอร์โชว์หรือระบำที่แสดงเป็นการยั่วยุกามารมณ์ในที่สาธารณะสถานหรือในสถานที่ของทางราชการ 2/08
-3. ให้กวดขันการปฏิบัติงานและตรวจสอบผลงานพร้อมสอดส่องลงโทษเจ้าหน้าที่ผู้เบียดเบียนประชาชนทุกกรณี 9/09
-5. ขอให้สอดส่องความประพฤติของผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องเสพสุรา 20/09
-4. ขอให้กระทรวงทบวงกรมและหน่วยราชการสอดส่องป้องกันมิให้มีนายหน้าตามสถานที่ราชการ 21/09
-3. ให้เร่งรัดการสอบสวนให้เสร็จไปโดยเร็ว อย่าให้ผู้ถูกกล่าวหาเดือดร้อน 88/09
-2. ได้รับอนุญาตลาไปศึกษา ณ ต่างประเทศ ครบกำหนดวันลาแล้วไม่เดินทางกลับมาปฏิบัติหน้าที่เป็นเวลานานเกินกว่า 15 วัน โดยมีเจตนาละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ลงโทษตามมติ ค.ร.ม. 50/10
36. งานสังคม
-1. ให้ข้าราชการส่วนภูมิภาคงดเว้นการเลี้ยงรับเลี้ยงส่งฉลองการเลื่อนยศเลื่อนตำแหน่ง 59/10
25. การทุจริตในการสอบ, สมัครงาน
-1. ทุจริตหรือพยายามทุจริตในการสอบ ควรลงโทษสถานหนัก 50/11
-5. ห้ามส่วนราชการจัดสรรที่ดิน 45/12
-3. ให้พิจารณาลงโทษผู้ที่ศึกษา ณ ต่างประเทศโดยฝ่าฝืนมติ ก.พ. หรือศึกษานอกเหนือจากแนวการศึกษา 83/13
26. การเบิกจ่ายเงินเดือนข้าราชการ
-1. ระหว่างควบคุมตัวคำพิพากษาของศาลคดีอาญา 4/15
35. การไว้ผมและการแต่งกาย
-ระเบียบว่าด้วยการไว้ผมและการแต่งกายของข้าราชการฯ 55/16
-2. ห้ามข้าราชการเชิญแขกทั่วไปมาเลี้ยงวันเกิดหรือเลี้ยงรับ เลี้ยงส่ง ฉลองยศ หรือตำแหน่ง ขึ้นบ้านใหม่ ครบรอบแต่งงาน หรือโกนจุก บวชนาค หรืองานอื่นใดนอกจากที่ระบุดังกล่าว 67/16
-3. ห้ามข้าราชการรับเป็นเจ้าภาพหรือประธานในพิธีการแห่งธุรกิจการค้าของเอกชน 76/16
-4. ห้ามข้าราชการรับเลี้ยงจากพ่อค้าในภัตตาคารใดๆ หรือรับบริการจากสถานอบายมุขหรือสถานเริงรมย์ต่างๆ จากพ่อค้า 67/16
-6. ห้ามข้าราชการเป็นกรรมการผู้จัดการหรือผู้จัดการหรือตำแหน่งหน้าที่อื่นในบริษัทห้างร้านเอกชน 62/20
-4. ให้เร่งรัดการดำเนินการทางวินัยให้เสร็จโดยเร็วและให้ ก.พ. สำรวจสถิติข้อมูลในเรื่องที่ถูกสอบสวน 89/20
-2. หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินต่างๆ ระหว่างพักราชการ 104/20
-6. ห้ามจัดของขวัญให้ผู้ใหญ่ และห้ามผู้ใหญ่รับของขวัญ 209/21
44. หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน
-ให้คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยรับผิดชอบเกี่ยวกับการสอบสวนทางวินัย โดยถือว่าเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติให้สำเร็จถ้าคณะกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนและสรุปผลการสอบสวนเสนอผู้สั่งแต่งตั้งไม่แล้วเสร็จภายใน 120 วัน หรือล่าช้าเกินสมควรโดยไม่มีเหตุผล ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาความบกพร่องต่อนห้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน 24/22
-5. ห้ามข้าราชการจัดงานรื่นเริง ไม่อวยพรหรือจัดของขวัญให้ผู้บังคับบัญชาหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในโอากสขึ้นปีใหม่ และห้ามมิให้ผู้บังคับบัญชาหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทุกระดับ รับของขวัญหรือการอวยพรจากข้าราชการ 198/22
-2. ให้เจ้าสังกัดช่วยเหลือเรื่องประกันตัวและค่าดำเนินคดีอื่นๆ 29/23
-3. เงินเดือนของผู้ที่ถูกสั่งลงโทษ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย 214/23
-6. ระเบียบการรับ-ส่ง งานในหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2524 36/24
-4. ระหว่างถูกควบคุมตัวดำเนินคดีอาญา 270/24
-5. การสอบสวนทางวินัยให้ดำเนินการตามกฎหมายโดยเคร่งครัด 200/25
5. การให้ถ้อยคำ
-1. การไปเป็นพยานศาล 56/26
2. การร้องเรียนกล่าวโทษ และการสอบสวนเรื่องที่ร้องเรียน
ในทุกกรณีที่มีการ้องเรียนจะต้องตอบให้ทราบว่าจะรับไว้พิจารณาหรือไม่เพราะเหตุใด 12/27
42. การล้างมลทิน
-1. ให้ออกซึ่งมิใช่ความผิดวินัย ไม่ควรถูกพิจารณาเพิ่มโทษอีก 69/27
-7. เลิกใช้บริการทางเพศ 29/28
-3. ระเบียบการช่วยเหลือข้าราชการหรือลูกจ้างที่ต้องหาคดีอาญา 166/28
-3. ให้ดำเนินการทางวินัยทันทีแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุโดยเคร่งครัด 50/29
43. การให้ข่าวราชการ
-1. ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 101/29
-2. แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ 69/33
-6. ห้ามจัดของขวัญให้ผู้ใหญ่ และห้ามผู้ใหญ่รับของขวัญ 136/29
-2. กำชับห้ามข้าราชการและครอบครัวทำไม้และค้าไม้ 61/31
1. การปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี
-ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยเคร่งครัดกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขอให้ทบทวน หากฝ่าฝืนให้พิจารณาลงโทษทางวินัยทุกราย 180/31
-3. กำชับ กวดขันให้ปฏิบัติหน้าที่โดยเคร่งครัดเกี่ยวกับการทำไม้และบุกรุกแผ้วถางป่า หากกระทำผิด ให้ลงโทษทางวินัยสถานหนัก 194/31
-3. ปลอมลายมือชื่อข้าราชการด้วยกันไปหาประโยชน์ ให้ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง และลงโทษอย่างน้อยให้ออกจากราชการ 22/32
-5. การเรี่ยไรของทางราชการ
40. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
-1. ให้การใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นหน้าที่ และให้ผู้บริหารระดับสูงไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยพร้อมเพรียง 20/34
-2. ให้ส่วนราชการ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือสนับสนุนในการดำเนินการเลือกตั้งทุกครั้ง
-3. ให้ส่วนราชการอำนวยความสะดวกให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
-4. ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่วางตัวเป็นกลาง และไปใช้สิทธิเลือกตั้งทุกครั้ง
-4. ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการทางวินัยและอาญาเจ้าหน้าที่ที่ไม่ดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิดทุกตัวบทกฎหมาย กรณีมีการกระทำผิดกฎหมายหลายฉบับ 73/34
-2. การไปให้ถ้อยคำต่อพนักงานสอบสวน 30/35
14. อำนาจการลงโทษ
-1. รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หรืออธิบดีแล้วแต่กรณีเป็นผู้บังคับบัญชาซึ่งมีตำแหน่งเหนือผู้สั่งลงโทษ
-3. ให้ใช้สำเนาทะเบียนบ้านได้ ไม่ต้องไปคัดที่อำเภออีก 199/35
-4. ปรับปรุงแก้ไข (ยกเลิก) มติคณัะรัฐมนตรีเรื่องการทุจริตเกี่ยวกับการเงิน 16/36
-8. ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการอุทิศเวลาให้แก่ราชการ
-4. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรและไม่กลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการอีกเลยและทุจริตต่อหน้าที่ราชการให้ลงโทษไล่ออก จะปราณีลดหย่อนโทษลงเป็นปลดออกไม่ได้ 234/36
-6. การสอบสวนทางวินัยเจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสูงให้ตั้งประธานกรรมการจากหน่วยงานกลาง 52/37
-3. นำวาระการประชุมของ ค.ร.ม. ไปลงพิมพ์ 133/38
-5. ให้ใช้สถานที่ราชการและโรงเรียน ในการหาเสียงเลือกตั้งได้ แต่ต้องไม่กระทบต่อการเรียน การสอน และต้องสนับสนุนค่าใช้จ่าย 141/39
8. ความรับผิดชอบทางละเมิด
-1. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 235/2535
-7. การให้ของขวัญแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หรือผู้บังคับบัญชา 11/40
-8. การอวยพรวันขึ้นปีใหม่ 285/40
-5. การใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านไม่ถูกต้อง 61/41
กรณีบัตรสนเท่ห์ ให้พิจารณาเฉพาะรายที่ระบุหลักฐานกรณีแวดล้อมปรากฏชัดแจ้ง ตลอดจนชี้พยานบุคคลแน่นอน 218/41
ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกร้องเรียนสืบสวนทางลับดูก่อนถ้ามีมูลจึงดำเนินคดีอาญาและสอบสวนทางวินัย 218/41
ให้ความคุ้มครองผู้ร้อง พยาน และผู้ให้ข้อมูล 218/41
3. มาตรการให้ความคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 31/42
-ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามพรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ 40/42
-4. การรักษาความลับเกี่ยวกับการประชุมคณะรัฐมนตรี 80/42
-3. การให้สัมภาษณ์หรือข่าวแก่สื่อมวลชน 80/42
38. การจัดเวรรักษาการณ์สถานที่ราชการ
-การละทิ้งหน้าที่ ให้ลงโทษตามความร้ายแรงแห่งกรณี
-7. ระเบียบการสอบสวนข้าราชการต่างสังกัดร่วมกระทำผิด ก.พ. 3/94
18. คำว่า
-เมื่อได้ลงโทษสถานเบาหรือลงทัณฑ์อย่างอื่นไปแล้ว ถ้าจะลงโทษสถานหนักในกรณีความผิดเดียวกันนั้น ก็ให้ทำได้โดยถือว่าโทษสถานเบาหรือทัณฑ์อย่างอื่นที่ลงไปแล้วให้เป็นพับไป ไม่ต้องยกเลิกโทษเดิม และไม่ต้องโอนเงินเดือนที่ถูกตัดหรือลดไป ก.พ. 17/98
-2. ลงโทษลดขั้นเงินเดือนหรือตัดเงินเดือนไปแล้ว ถ้าจะไล่ออกในกรณีความผิดเดียวกัน ไม่ต้องยกเลิกโทษเดิมและคืนเงินเดือนที่ถูกลดหรือตัดไปนั่น ก.พ. 17/97
-4. ให้กวดขันลงโทษข้าราชการผู้ใช้อำนาจเหนือประชาชนและให้ลงโทษผู้บังคับบัญชาผู้ช่วยเหลือผู้กระทำผิดหรือผู้เสนอความเห็นเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายผิดพลาด ก.พ. 12/2500
-2. ข้าราชการที่ถูกลงโทษและภายหลังได้รับการล้างมลทินต้องบันทึกการถูกลงโทษนั้นไว้ในประวัติและหมายเหตุไว้ด้วยว่าได้รับล้างมลทินแล้ว ก.พ. 25/2500
-5. ซ้อมความเข้าใจเรื่องเสนอความเห็นเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายผิดพลาด ก.พ. 1/01
-8. การสอบสวน รวมทั้งการรายงานการสอบสวนสรุปข้อเท็จจริงและทำความเห็นเสนอตัว ก.พ. 2/01
-2. ทุจริตในการสอบ ลงโทษสถานหนัก ก.พ. 1/02
16. การรับทราบคำสั่งให้พ้นจากราชการ
-ไม่จำเป็นจะต้องลงนามรับทราบเสมอไป หากยืนยันได้ว่าได้นำคำสั่งไปให้ผู้ถูกสั่งให้ออกทราบแล้ววันใด แม้จะไม่ยอมลงนามรับทราบ ก็ถือว่าได้รับทราบแล้ว ก.พ. 19/03
-3. การล้างมลทิน ล้างแต่โทษ ไม่ล้างความผิด ก.พ. 2/04
12. การให้ออกจากราชการ
-ให้ออกตามมาตรา 37 และ 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2497 ไม่ใช่การลงโทษ ไม่ควรระบุในคำสั่งให้ออกว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย (เทียบกับมาตรา 115 และมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535) ก.พ. 2/08
15. การรายงานการลงโทษ
-กระทำผิดร่วมกันหลายคน ให้รายงานรวามเป็นเรื่องเดียวกันหากกรวมไม่ได้ ให้บอกด้วยว่ามีผู้ใดบ้าง และรับโทษอะไร ก.พ. 11/08
-9. ให้รีบสอบสวนพิจารณาโทษทางวินัยโดยไม่ต้องรอผลทางคดีอาญา ก.พ. 4/09
-10. ผู้ต้องหาคดีอาญาซึ่งมิใช่ความผิดลหุโทษ ถ้ากรณีทางวินัยไม่ปรากฏชัด ให้รอผลคดีอาญา ก.พ. 9/09
-4. ทุจริตเบิกเบี้ยเลี้ยงค่าพาหนะ และเงินอื่นในทำนองเดียวกันเป็นเท้จ ควรลงโทษสถานหนัก ก.พ. 6/11
-2. ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจสั่งลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาได้เท่ากับอธิบดี อธิบดีจึงไม่ใช่ตำแหน่งเหนือผู้ว่าราชการจังหวัด ไม่มีอำนาจสั่งเพิ่มโทษ, ลดโทษ หรือยกโทษที่ผู้ว่าราชการจังหวัดได้สั่งลงโทษไปแล้ว ก.พ. 2/12
-3. ลงโทษตามมติ อ.ก.พ. จังหวัด และผู้ถูกลงโทษไม่อุทธรณ์ ผู้บังคับบัญชา (ร.ม.ต.ปลัดกระทรวง หรืออธิบดี) จะนำเรื่องเสอ อ.ก.พ. กระทรวงพิจารณาเพื่อลดโทษหรือสั่งลดโทษเองไม่ได้ ก.พ. 5/12
17. การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ
-1. สิทธิในการถอนอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ (ความเห็น ค.กฤษฎีกา)
-9. สำนวนการสอบสวนวินัยให้เก็บไว้ 10 ปี ก.พ. 6/14
-3. เรียกและรับเงินจากผู้สมัครสมัคร ก.พ. 15/16
-6. ให้กระทรวงทบวงกรมต่างๆ กำชับให้ข้าราชการปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการจัดซื้อพัสดุและการจ้างอย่างเคร่งครัด ผู้ใดฝ่าฝืนควรลงโทษสถานหนัก ก.พ. 21/17
-2. วิธีการดำเนินการเกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ เนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 ก.พ. 5/20
-3. อุทธรณ์ต่อนายกรัฐมนตรีโดยผ่านผู้บังคับบัญชาเดิมก็ให้รับไว้แล้วส่งต่อไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาได้ ก.พ. 5/20
-11. การสอบสวนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 ก.พ. 12/21
20. การลา
-1. การลาออกจากราชการ ก.พ. 10/23
-7. การเบิกเงินค่าอาหารทำการนอกเวลา ก.พ. 8/24
-4. ให้บันทึกการถูกลงโทษในประวัติและหมายเหตุไว้ว่าได้รับล้างมลทินและรายงานการลงโทษมาด้วย ก.พ. 3/26
-2. การปราบปรามข้าราชการเล่นการพนันสลากกินรวบ ก.พ. 4/26
-5. แนวทางพิจารณาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ก.พ. 2/28
-6. การสั่งลงโทษให้ระบุในคำสั่งลงโทษว่าควรได้รับโทษระดับใดและเมื่อลดหย่อนแล้วให้ได้รับโทษสถานใด ก.พ. 3/28
-3. การให้ถ้อยคำกลับไปกลับมา ให้พิจารณาโทษทางวินัย ก.พ. 1/29
6. การพิจารณาโทษทางวินัย กรณีมีความเห็นแตกต่างกัน
-- ในกรณีที่ผู้มีอำนาจหน้าที่พิจารณาเรื่องเกี่ยวกับวินัยมีความเห็นแตกต่างกัน ให้บันทึกแสดงเหตุผลในการวินิจฉัยโดยละเอียดและสรุปข้อเท็จจริงที่รับฟังได้แน่ชัดในสำนวนหรือรายงานการประชุม อ.ก.พ. ก.พ. 5/29
-12. คุณสมบัติของกรรมการสอบสวน ก.พ. 6/29
-7. แนวางพิจารณาโทษทางวินัย กรณีเหตุในลักษณะคดี ก.พ. 7/29
-10. แม้ศาลจะกสั่งยกเลิกการล้มละลาย ผู้นั้นก็ยังขาดคุณสมบัติตามมาตรา 24(9) ต้องสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา 59 ก.พ. 11/29
-8. แนวทางลงโทษกรณีการฌาปนกิจสงเคราะห์ ก.พ. 3/30
-4. ให้บันทึกการถูกลงโทษในประวัติและหมายเหตุไว้ว่าได้รับล้างมลทินและรายงากนารลงโทษมาด้วย ก.พ. 1/31
-4. แม้ข้าราชการซึ่งมีถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงจะออกจากราชการไปแล้ว ผู้บังคับบัญชามีอำนาจที่จะสั่งลงโทษลดขั้นเงินเดือน ตัดเงินเดือน หรือภาคทัณฑ์ย้อนหลังได้ ก.พ. 4/31
-5. การสั่งเพิ่มโทษหรือลดโทษตามมาตรา 92 เป็นไม่ถึงออกจากราชการให้สั่งให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่ คำสั่งลงโทษเดิมใช้บังคับ ก.พ. 6/31
-4. กำชับให้ระมัดระวังการให้ถ้อยคำในการสอบสวนทางวินัย ก.พ. 14/33
-6. การสั่งเพิ่มโทษหรือลดโทษตามมาตรา 92 ไม่มีผลกระทบถึงสิทธิและประโยชน์ที่ข้าราชการผู้นั้นได้รับไปแล้ว ก.พ. 11/34
7. กำหนดการดำเนินการทางวินัยต่อไปกรณีคาบเกี่ยว หลัง 1 เมษายน 2535
-1. อยู่ระหว่างดำเนินการตามมาตรา 89 (พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518) ให้ดำเนินการต่อไปตามมาตรา 106 ก.พ. 3/35 (พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535)
-2. ได้อุทธรณ์คำสั่งลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงต่อผู้บังคับบัญชาตามมาตรา 104 (พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518) ไว้แล้วและยังพิจารณาวินิจฉัยไม่เสร็จ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาวินิจฉัยสั่งการต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ก.พ. 3/35
-3. ถูกลงโษวินัยไม่ร้ายแรง (พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518) มีสิทธิอุทธรณ์ได้ตามมาตรา 125 มาตรา 140 (พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535) และระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎ ก.พ. ว่าด้วยอุทธรณ์ฯ ใหม่ ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อผู้บังคับบัญชาตามข้อ 3 กฎ ก.พ. ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2518) และให้ผู้บังคับบัญชาส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม อ.ก.พ.กระทรวงหรือ ก.พ. แล้วแต่กรณีพิจารณา ก.พ. 3/35
-4. อุทธรณ์คำสั่งลงโทษวินัยร้ายแรงตามมาตรา 105 (พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518) ไว้แล้วและพิจารณายังไม่แล้วเสร็จ ให้พิจารณาวินิจฉัยสั่งการ และดำเนินการต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ก.พ. 3/35
-5. ได้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาตามมาตรา 102 (พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518) ไว้แล้วและพิจารณาวินิจฉัยยังไม่แล้วเสร็จ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาวินิจฉัยต่อไปจนกว่าจะเสร็จ ก.พ. 3/35
-6. การ้องทุกข์ตามมาตรา 130 (พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535) ระหว่างที่ยังมิได้ออก กฎ ก.พ. ให้นำ กฎ ก.พ. ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2518) มาใช้บังคับโดยอนุโลม ก.พ. 3/35
45. ระเบียบ ก.พ.
-1. วันออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2535 ก.พ. 17/35
-2. การขอและการพิจารณายกเว้นในกรณีที่ขาดคุณสมบัติทั่วไป พ.ศ. 2535 ก.พ. 21/35
-2. ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยการลาออกจากราชการ ก.พ. 3/36
-3. การลาออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2536 ก.ฑ. 3/36
-4. ทุจริตเบิกเบี้ยเลี้ยงค่าพาหนะ และเงินอื่นในทำนองเดียวกันเป็นเท็จ ควรลงโทษสถานหนัก ก.พ. 8/36
46. กฎ ก.พ.
-1. อำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 8) ก.พ. 17/36
-3. การสั่งพักราชการกรณีถูกฟ้องหรือต้องหาว่ากระทำความผิดตามกฎหมายของต่างประเทศ ก.พ. 12/37
-4. เรียกร้องเงินจากราษฎรเพื่อฝากเข้าทำงาน ก.พ. 2/38
-2. การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 11) ก.พ. 1/2539
-3. หย่อนความสามารถ บกพร่อง ประพฤติตนไม่เหมาะสม ที่ปรากฏชัดแจ้ง (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 12) ก.พ. 5/2539
-4. วิธีการออกคำสั่งกับการลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2536 ก.พ. 3/36
-5. การรายงานเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยและการออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2539 ก.พ. 20/39
-5. ให้บันทึกการถูกลงโทษ สั่งให้ออก หรือการสั่งยุติเรื่องหรืองดโทษไว้ในประวัติ และหมายเหตุว่าได้รับล้างมลทินหรือระงับการพิจารณาแล้วรายงาน ก.พ. หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ก.พ. 22/39
-4. ความผิดวินัยที่ปรากฏชัดแจ้ง (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 13) ก.พ. 24/39
-5. การสั่งให้ข้าราชการประจำส่วนราชการ (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 15) ก.พ. 11/40
-6. การอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 16) ก.พ. 12/40
-7. การร้องทุกข์และพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 17) ก.พ. 13/40
-8. การสอบสวนพิจารณา (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 18) ก.พ. 18/40
49. เบ็ดเตล็ด
-แจ้งข้อมูลเท็จเกี่ยวกับคุณสมบัติและผลงานของบุคคล ก.พ. 5/42
-9. การขยายเวลาให้ประจำส่วนราชการ ก.พ. 15/42
-ข้าราชการซึ่งต้องหาว่าทำผิดวินัยร้ายแรงตายก่อน แต่การสอบสวนยังไม่เสร็จ
-การรับบำเหน็จบำนาญกรณีวินัยยังไม่ถึงที่สุด กค 4/42
-5. ระหว่างพักราชการ
-6. ระหว่างให้ออกจากราชการ
-รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุได้รับความเสียหาย ให้แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากฝ่าฝืนควรจะได้พิจารณาทางวินัยและ/หรือดำเนคดีอาญาด้วย
47. ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
-1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537
-2. อำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดค่าจ้าง หรือลดค่าจ้าง กค 5/39
-3. การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณื กค 50/41
-4. การร้องทุกข์และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ กค 51/41
-4. การร้องทุกข์และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ กค 51/41
-5. ระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2536 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
-5. ระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2536 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
-3. ถูกควบคุมตัวระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาไม่ต้องลา
-7. ถูกจับกุมขังอยู่ก็ไม่ต้องยื่นใบลา แต่ต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
-6. ถูกควบคุมตัวให้รายงานผู้บังคับบัญชา ลาไม่ได้
-ระเบียบการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยข้าราชการ พ.ศ. 2536
-ระเบียบการจาเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยลูกจ้างประจำเหมือนข้าราชการโดยอนุโลม
-8. การจ่ายเงินเดือนผู้ถูกสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และผู้ได้รับยกโทษ พ.ศ. 2538 กด 86/38
-2. แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด
-พ.ร.บ.เงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ. 2502
-3. การชดใช้กรณีกระทำละเมิดที่เกิดก่อนพระราชบัญญัติ
-พ.ร.ฎ.การจ่ายเงินเดือน เงินปี บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. 2535
-พ.ร.บ. ความผิดทางวินัยของข้าราชการซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ พ.ศ. 2534
-พ.ร.บ.ล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี พ.ศ. 2539
-4. พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
-4. การใช้บุคคลเป็นประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว
-ปฏิบัติราชการแทน 34/43
ปกหลัง