เอกสารสรุปประเด็นข้อเท็จจริงและข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับกลูโคซามีน คอนดรอยตินซัลเฟต ไดอะเซอเรนและไฮยาลูโรแนนชนิดฉีดเข้าข้อ
แฟ้มข้อมูล
ประเภททรัพยากร
ฉบับพิมพ์
จำนวนหน้า/ขนาด
160
หน่วยงานที่เผยแพร่
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วันที่เผยแพร่
2554-01
วันที่จดลิขสิทธิ์
ISBN
9789747710472
ISSN
DOI
เลขที่หนังสือราชการ
เลขเอกสาร
หมวดหมู่
เลขเรียกหนังสือ
รหัสบ่งชี้อื่นๆ
แหล่งจัดเก็บต้นฉบับ
บุคคล/หน่วยงานที่จัดส่งเอกสาร
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เป็นส่วนหนึ่งของ
อ้างอิงโดย
เวอร์ชัน
มีพื้นฐานจาก
แหล่งที่มา
ข้อมูลอ้างอิง
สิทธิ์ในการใช้งาน
สิทธิ์ในการเข้าถึง
เจ้าของสิทธิ์
ข้อมูลอ้างอิง
คณะทำงานวิชาการทางการแพทย์ คณะกรรมการบริหารระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (2011). เอกสารสรุปประเด็นข้อเท็จจริงและข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับกลูโคซามีน คอนดรอยตินซัลเฟต ไดอะเซอเรนและไฮยาลูโรแนนชนิดฉีดเข้าข้อ. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14156/576021.
ชื่อเรื่องอื่น
ผู้แต่ง (หน่วยงาน)
ผู้รวบรวม/ผู้เรียบเรียง
ที่ปรึกษา/อาจารย์ที่ปรึกษา
คณะกรรมาธิการ
ผู้ร่วมงานอื่นๆ
ผู้เสนอ : ชื่อ-นามสกุล
ผู้เสนอ : ประเภทสมาชิก
ผู้เสนอ : พรรคที่สังกัด
ผู้เสนอ : จังหวัดที่สังกัด
วันที่เสนอ
วันที่บรรจุระเบียบวาระ
วันที่ประชุม
ครั้งที่ประชุม
ประเภทการประชุม
ประเภทเรื่องที่ประชุม
สถานะการพิจารณา
ประเภทสภา
มติที่ประชุม
สมัยประชุม
ครั้งที่ของสมัยประชุม
สภาชุดที่
สภาปีที่
หมายเลขกระทู้ถาม
ชนิดของกระทู้ถาม
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ประเภทสมาชิก
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : พรรคที่สังกัด
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : จังหวัดที่สังกัด
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ตำแหน่ง
รัฐมนตรีประจำกระทรวง
กระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ผู้อภิปราย
ประเภทการอภิปราย
หัวข้อการอภิปราย
วันที่อภิปราย
ผู้ชี้แจง
ชื่อปริญญา
ระดับปริญญา
สาขาวิชา
ภาควิชา
ผู้ประสาทปริญญา
เนื้อเรื่องย่อ
สารบัญ
ปกหน้า
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สารบัญ
อภิธานอักษรย่อ
1. กลูโคซามีน (glucosamine) คืออะไร
2. กลูโคซามีนจัดเป็นอาหารเสริมหรือยา
3. หากมีสถานะเป็นยา จัดกลูโคซามีนเป็นยาในหมวดใด
4. ในประเทศไทย กลูโคซามีนมีจำหน่ายในรูปแบบใดบ้าง
5. กลูโคซามีนมีความเกี่ยวข้องกับข้อเข่าอย่างไร
6. กลูโคซามีนที่ขึ้นทะเบียนในประเทศไทยกล่าวอ้างสรรพคุณไว้อย่างไร
7. ความบกพร่องของการขึ้นทะเบียนกลูโคซามีนในประเทศไทย
8. เภสัชพลศาสตร์ของกลูโคซามีน
9. กลูโคซามีนเป็นที่นิยมใช้ในประเทศไทยมากน้อยเพียงใด
10. กลูโคซามีนในประเทศไทยมีราคาจำหน่ายเท่าใด
11. เภสัชจลนศาสตร์ของกลูโคซามีน
12. กลูโคซามีนไม่ช่วยสร้างเสริมกระดูกอ่อนผิวข้อ
13. งานวิจัยที่สนับสนุนว่ากลูโคซามีนช่วยชะลอการเสื่อมของข้อเข่า
14. งานวิจัยที่พบว่ากลูโคซามีนให้ผลไม่แตกต่างจากยาหลอกในการช่วยชะลอการเสื่อมของข้อ
15. ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับประสิทธิผลของกลูโคซามีนซัลเฟต ในการลดอัตราการเปลี่ยนข้อเข่า
16. ผลการศึกษาของ NIH Glucosamine/chondroitinArthritis Intervention Trial (GAIT) ที่พิสูจน์ว่ากลูโคซามีนไม่มีประสิทธิผล
17. งานวิจัย GAIT ได้สร้างมาตรฐานการวิจัยเกี่ยวกับกลูโคซามีนไว้อย่างไร
18. กลูโคซามีนซัลเฟตไม่แตกต่างจากกลูโคซามีนไฮโดรคลอไรด์
19. ร่างกายไม่สามารถนำกลูโคซามีนซัลเฟตไปใช้สร้างกระดูกอ่อนได้โดยตรง
20. สมมุติฐานเกี่ยวกับความสำคัญของซัลเฟตในกลูโคซามีน
21. ข้อโต้แย้งของสมมุติฐานที่ระบุว่าซัลเฟตมีความสำคัญในกลไกการออกฤทธิ์ของกลูโคซามีน
22. กลูโคซามีนไม่ช่วยเสริมการสังเคราะห์น้ำไขข้อ
23. การฉีด hyaluronic acid เข้าในข้อโดยตรงไม่มีประโยชน์อย่างชัดเจนทางคลินิก
24. ลักษณะการโฆษณากลูโคซามีนตรงต่อผู้บริโภคโดยบริษัท Rottapharm ในประเทศไทย
25. มติที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติเรื่อง การส่งเสริมการขายที่ขาดจริยธรรม
26. มติคณะรัฐมนตรีเรื่อง มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2
27. กลูโคซามีนของบริษัท Rottapharm ไม่แตกต่างจากกลูโคซามีนที่ผลิตโดยบริษัทอื่นในประเทศไทย
28. กลูโคซามีนซัลเฟตไม่ช่วยบรรเทาอาการปวดข้อ ไม่ช่วยให้ข้อหายฝืด และไม่ช่วยให้การเคลื่อนไหว(การทำงาน) ของข้อดีขึ้นเมื่อวัดด้วย WOMAC score
29. Lequesne index คืออะไร
30. กลูโคซามีนซัลเฟตได้ผลเฉพาะเมื่อวัดด้วย Lequesne index และประโยชน์ที่วัดได้ลดต่ำลงเรื่อยๆ เมื่อมีงานวิจัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
31. WOMAC หรือ Lequesne index มีความน่าเชื่อถือมากกว่ากัน
32. แพทย์ผู้รักษามีความพอใจในผลการรักษาต่ำและไม่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ให้กลูโคซามีนกับยาหลอก
33. การใช้กลูโคซามีนอย่างต่อเนื่องไม่เกิดประโยชน์
34. ความรับรู้ในประสิทธิผลของกลูโคซามีนอาจเป็นผลมาจากอุปาทาน (placebo effect)
35. ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อผลการรักษา ไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มที่ได้กลูโคซามีนกับยาหลอก
36. คุณภาพของงานวิจัยมีผลต่อการวัดประสิทธิผลของยาอย่างไร
37. ขนาดประสิทธิผล (effect size) ของกลูโคซา-มีนซัลเฟตลดลงเรื่อย ๆ
38. งานวิจัยเกี่ยวกับกลูโคซามีนที่มีคุณภาพสูงหมายความว่าอย่างไร
39. งานวิจัยกลูโคซามีนซัลเฟตมี publicationbias สูง
40. การรายงานผลการวิจัยภายใต้มาตรฐาน CONSORT หลังปี ค.ศ. 1998
41. ข้อควรระวังในการแปลผล effect size
42. ความแตกต่างระหว่างผลลัพธ์ในงานวิจัยระหว่าง GS กับ GH อาจเป็นผลจากการมีส่วนเกี่ยวข้องของบริษัทยากับงานวิจัย
43. heterogeneity ในงานวิจัย GS มีผลต่อความน่าเชื่อถือของงานวิจัย
44. evidence-based guideline ส่วนใหญ่ไม่แนะนำให้ใช้กลูโคซามีนในโรคข้อเสื่อม
-44.1 American College of Rheumatology 2000 (USA)
-44.2 EULAR recommendations 2000 (EU)
-44.3 EULAR Recommendations 2003 (EU)
-44.4 EULAR evidence based recommendations 2008 (EU)
-44.5 Singapore Ministry of Health 2007 (Singapore)
-44.6 American Academy of OrthopaedicSurgeons (USA)
-44.7 Osteoarthritis. National clinical guidelinefor care and management in adults 2008 (UK)
-44.8 Michigan Quality ImprovementConsortium 2009 (USA)
-44.9 แนวปฏิบัติบริการสาธารณสุข โรคข้อเข่าเสื่อม พ.ศ. 2553 (สปสช.)
45. กลูโคซามีนไม่มีความคุ้มค่าในการใช้
-45.1 งานวิจัยของ Segal และคณะ 2004 (ออสเตรเลีย)
-45.2 งานวิจัยของ Black และคณะ 2009 (สหราชอาณาจักร)
-45.3 งานวิจัยของ Scholtissen และคณะ 2010 (เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์สเปน อิตาลี)
-45.4 Preliminary report ของ ณธร และคณะ 2010 (ประเทศไทย)
-45.5 รายงานของ Ku 2009 (สหรัฐอเมริกา) ในการประชุม iHEA'' 7th ณ กรุงปักกิ่ง
-45.6 รายงานของ Simoens 2009 (เบลเยี่ยม) ในการประชุม ISPOR'' 12th ณ กรุงปารีส
46. กลูโคซามีนรวมทั้งยาอื่นในกลุ่ม SYSADOA มีการเบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลางในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการมากน้อยเพียงใด ในแต่ละปี
47. ระบบสวัสดิการสาธารณสุขภาครัฐในหลายประเทศไม่อนุมัติให้เบิกจ่าย (reimburse) กลูโคซา-มีนเนื่องจากไม่มีความคุ้มค่าในการใช้
-47.1 ประเทศที่กลูโคซามีนไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นยา
-47.2 ประเทศสวีเดน
-47.3 สาธารณรัฐไอร์แลนด์
-47.4 ประเทศสก๊อตแลนด์
-47.5 สหราชอาณาจักร
48. หลักฐานล่าสุดที่แสดงให้เห็นว่ากลูโคซามีนไม่มีประสิทธิผล และไม่ควรได้รับการเบิกจ่ายจากระบบสวัสดิการสาธารณสุขภาครัฐ
เอกสารอ้างอิง
ข้อสรุปเกี่ยวกับคอนดรอยติลซัลเฟต ไดอะเชอเรน และ IAHA
ภาคผนวก 1
-มติคณะรัฐมนตรี 24 มีนาคม 2553
-แพทยสภาบีบค่ารักษาขรก.
ภาคผนวก 2
-คำชี้แจงประเด็นข้อโต้แย้งจากราชวิทยาลัย สมาคม และมูลนิธิ
สารบัญภาพ
-ภาพที่ 1 รูปแบบของกลูโคซามีนที่มีจำหน่ายในประเทศไทย
-ภาพที่ 2 แสดงข้อความใน SPC ของกลูโคซามีนที่ขึ้นทะเบียนในสหภาพยุโรป
-ภาพที่ 3 แสดงผลลัพธ์ในงานวิจัย GAIT (2006) ซึ่งพบว่ากลูโคซามีนมีประสิทธิผลไม่แตกต่างจากยาหลอกในการบรรเทาปวด ทั้งที่วัดด้วย WOMAC pain score และ OMERACT-OARSI response
-ภาพที่ 4 แสดงการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของน้ำไขข้อ (HA) ในข้อเข่าของผู้ป่วย OA และ RA หลังการรักษาด้วย GH และ CS แผนภูมิ A เปรียบเทียบความเข้มข้น แผนภูมิ B เปรียบเทียบน้ำหนักโมเลกุล และแผนภูมิ C เปรียบเทียบระดับของ chondrocalcin
-ภาพที่ 5 แสดงสัดส่วนของผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบขณะใช้ยาหลอกเทียบกับกลูโคซามีน
-ภาพที่ 6 ตัวอย่างผู้ป่วยในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการที่ได้รับกลูโคซามีนอย่างต่อเนื่องร่วมกับไดอะเซอเรน และ COX-II inhibitor
-ภาพที่ 7 แสดง effect size ของการรักษาวิธีต่าง ๆ สำหรับ OA ที่คำนวณจากงานวิจัยหลากหลาย
-ภาพที่ 8 แสดง effect size ของการรักษาวิธีต่างๆสำหรับ OA ที่คำนวณจากงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง(Jadad = 5)
-ภาพที่ 9 แสดงความสอดคล้องของผลการวิจัยที่เป็น pivotal trial ของบริษัท heterogeneity
-ภาพที่ 10 ภาพจาก website ของ DoD PEC ที่แสดงให้เห็นว่า GH และ GS ไม่จัดเป็นรายการยาเพื่อการเบิกจ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา
-ภาพที่ 11 การโฆษณาตรงสู่ประชาชนใน website ของยา DONA™ ของบริษัท Rotta Pharmaceuticals,Inc. Wall, NJ, USA.
สารบัญตาราง
-ตารางที่ 1 กลไกการออกฤทธิ์ที่อาจเป็นไปได้ของ chondroitin (ดัดแปลงจาก Fioravanti 2006) ซึ่งนำมาจากบทความของ Black (2009)
-ตารางที่ 2 แสดงวิธีการคำนวณ WOMAC painscore
-ตารางที่ 3 แสดงผลลัพธ์ทางคลินิกของการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยยาที่ผลิตในประเทศไทยโดยบริษัท (Mega Lifescience Flexsa) กับยาต้นแบบจากบริษัท Rottapharm (Viartril-S) เมื่อวัดด้วย WOMAC score
-ตารางที่ 4 แสดงผลลัพธ์ทางคลินิกของการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยยาที่ผลิตในประเทศไทยโดยบริษัท Mega Lifesience (Flexsa) กับยาต้นแบบจากบริษัท Rottapharm (Viartril-S) เมื่อวัดด้วย SF-36 score
-ตารางที่ 5 แสดงระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยระบบการให้คะแนน Lequesne’s index หรือ algofunctional index
-ตารางที่ 6 เปรียบเทียบค่า ES ระหว่างการรักษา OA ด้วยยาชนิดต่างๆ ในกลุ่ม SYSADOA และยาแก้ปวด
-ตารางที่ 8 แสดงการปกปิดข้อมูลและการสุ่มผู้ป่วยที่ไม่รัดกุมของงานวิจัยต่างๆ ของกลูโคซามีนซึ่งส่งผลต่อ heterogeneity ของผลลัพธ์งานวิจัย (คัดมาบางส่วนจากตารางที่ 1 ของ Vlad และคณะ)
-ตารางที่ 9.2 แสดงขนาดของประสิทธิผล วิธีประเมินผลการรักษา และความเกี่ยวข้องกับบริษัทยา ในงานวิจัยชนิด meta-analysis ของ McAlindon (2000)
-ตารางที่ 10 น้ำหนักคำแนะนำจากหลัก “5ป” (ปลอดภัย ประสิทธิศักย์ ประสิทธิผล ประโยชน์ และประสิทธิภาพ) ของยากลุ่ม SYSADOA
-ตารางที่ 11 แหล่งที่มาของค่าตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณค่าใช้จ่ายและอรรถประโยชน์ของกลูโคซามีน ในรายงานของ ณธรและคณะ (2010)
-ตารางที่ 12 แสดงรายการยา 8 ชนิดที่มีกลูโคซามีนเป็นส่วนประกอบ และถูกยกเลิกการเบิกจ่ายจากสวัสดิการภาครัฐของประเทศสวีเดน ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2010
-ตารางที่ 9.1 แสดงจำนวนผู้ป่วย การปกปิดข้อมูลและวิธีวิเคราะห์ข้อมูล ในงานวิจัยชนิด meta analysisของ McAlindon (2000)
สารบัญแผนภูมิ และแผนภาพ
-แผนภูมิที่ 1 มูลค่ากลูโคซามีนในแต่ละโรงพยาบาลที่เบิกจ่ายค่ายาในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการจากกรมบัญชีกลาง (พ.ศ. 2551-2552) เมื่อเทียบกับมูลค่ารวมของกลูโคซามีนและ NSAID ในกลุ่ม COX-II inhibitor
-แผนภูมิที่ 2 แสดง cumulative meta-analysis ของ RCTs ในการบรรเทาปวดของ GS ใน OA
-แผนภูมิที่ 3 แสดงค่า effect size ของ GS ที่ลดลงเรื่อยๆ เมื่อตัดงานวิจัยที่มี publication bias และ heterogeneity ออก
-แผนภูมิที่ 4 การวินิจฉัยและรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
สารบัญแผนภาพ
-แผนภาพที่ 1 ขั้นตอนการนำกลูโคซามีนไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์คอนดรอยตินในร่างกายมนุษย์
ปกหลัง