ผลงานของ ม.ล. ชูชาติ กำภู กรมชลประทานพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.ล.ชูชาติ กำภู ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 ธันวาคม 2512
แฟ้มข้อมูล
ประเภททรัพยากร
ฉบับพิมพ์
จำนวนหน้า/ขนาด
234
หน่วยงานที่เผยแพร่
กรมชลประทาน
วันที่เผยแพร่
2512-12-16
วันที่จดลิขสิทธิ์
ISBN
ISSN
DOI
เลขที่หนังสือราชการ
เลขเอกสาร
หมวดหมู่
อศ
เลขเรียกหนังสือ
รหัสบ่งชี้อื่นๆ
แหล่งจัดเก็บต้นฉบับ
บุคคล/หน่วยงานที่จัดส่งเอกสาร
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เป็นส่วนหนึ่งของ
อ้างอิงโดย
เวอร์ชัน
มีพื้นฐานจาก
แหล่งที่มา
ข้อมูลอ้างอิง
สิทธิ์ในการใช้งาน
สิทธิ์ในการเข้าถึง
เจ้าของสิทธิ์
ข้อมูลอ้างอิง
(1969). ผลงานของ ม.ล. ชูชาติ กำภู กรมชลประทานพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.ล.ชูชาติ กำภู ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 16 ธันวาคม 2512. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14156/596744.
ชื่อเรื่องอื่น
ผู้แต่ง
ผู้แต่ง (หน่วยงาน)
ผู้รวบรวม/ผู้เรียบเรียง
ที่ปรึกษา/อาจารย์ที่ปรึกษา
คณะกรรมาธิการ
ผู้ร่วมงานอื่นๆ
ผู้เสนอ : ชื่อ-นามสกุล
ผู้เสนอ : ประเภทสมาชิก
ผู้เสนอ : พรรคที่สังกัด
ผู้เสนอ : จังหวัดที่สังกัด
วันที่เสนอ
วันที่บรรจุระเบียบวาระ
วันที่ประชุม
ครั้งที่ประชุม
ประเภทการประชุม
ประเภทเรื่องที่ประชุม
สถานะการพิจารณา
ประเภทสภา
มติที่ประชุม
สมัยประชุม
ครั้งที่ของสมัยประชุม
สภาชุดที่
สภาปีที่
หมายเลขกระทู้ถาม
ชนิดของกระทู้ถาม
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : ประเภทสมาชิก
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : พรรคที่สังกัด
ผู้ตั้งกระทู้ถาม : จังหวัดที่สังกัด
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ชื่อ-นามสกุล
ผู้ตอบกระทู้ถาม : ตำแหน่ง
รัฐมนตรีประจำกระทรวง
กระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ผู้อภิปราย
ประเภทการอภิปราย
หัวข้อการอภิปราย
วันที่อภิปราย
ผู้ชี้แจง
ชื่อปริญญา
ระดับปริญญา
สาขาวิชา
ภาควิชา
ผู้ประสาทปริญญา
เนื้อเรื่องย่อ
สารบัญ
ปกหน้า
ประวัติ
ผลงานของ หม่อมหลวง ชูชาติ กำภู
ผลงานของ ม.ล. ชูชาติ กำภู ในระหว่างรับราชการในกรมชลประทาน
เขื่อนนายก
ประตูระบายท่าช้าง
ประตูเรือสัญจรท่าช้าง
ประตูระบายกลางคลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา โครงการนครนายก ที่ กม. 16.100 ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 2 ช่อง
ประตูระบายน้ำบ้านนา ช่องระบายน้ำกว้าง 3 เมตร 3 ช่อง ที่คลองบ้านนาตัดผ่านคลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา โครงการนครนายก ที่ กม. 15.470
ประตูระบายปากคลองเหมืองช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 2 ช่อง เพื่อระบายน้ำแม่น้ำนครนายกเวลาหลากมา ทิ้งลงแม่น้ำปราจีน และส่งไปใช้สำหรับพื้นที่ 93,800 ไร่
ฝายแม่กวง สูง 3.50 เมตร สันฝายยาว 120 เมตร กั้นน้ำแม่กวง ที่ตำบลช่างโก๊ะ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการแม่กวง 60,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2497
ฝายแม่ลาว สูง 2.50 เมตร สันฝายยาว 30.50 เมตร กั้นน้ำแม่ลาวที่ตำบลแม่ดาวโดม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย
ฝายแม่ยม สูง 7.50 เมตร สันฝายยาว 1.50 เมตร เป็นฝายที่ใหญ่ที่สุดที่ได้สร้างมาแล้วในประเทศไทย กั้นแม่น้ำยมที่ตำบลบ้านหนุน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ทดน้ำส่งให้แก่พื้นที่ในเขตโครงการแม่ยอมดอนบน 224,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2504
ฝายแม่แตง สูง 9.80 เมตร สันฝายยาว 126.90 เมตร กั้นน้ำแม่แตง ที่ตำบลหนองป่าอ้อย อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการแม่แตง 150,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2504
ที่ตั้งเขื่อนภูมิพล ก่อนการก่อสร้าง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงวางศิลาฤกษ์ เขื่อนภูมิพล เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2519
งานก่อสร้างเขื่อนภูมิพล เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2505
เขื่อนภูมิพล
เขื่อนภูมิพล ด้านเหนือน้ำ
เครื่องผลิตไฟฟ้าที่เขื่อนภูมิพล
สายส่งไฟฟ้าแรงสูง ขนาด 230,000 โวลท์ จากเขื่อนภูมิพลถึงกรุงเทพฯ ยาวสายละ 885 กม. 2 สาย
พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เนื่องในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนภูมิพล เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2507
บริเวณหัวงานเขื่อนเจ้าพระยา
งานก่อสร้างเขื่อนเจ้าพระยาและประตูเรือสัญจร
หัวงานเขื่อนเจ้าพระยา
เขื่อนเจ้าพระยา ช่องระบายน้ำกว้าง 12.50 เมตร 16 ช่อง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนเจ้าพระยา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยบนแผ่นศิลาจารึกในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนเจ้าพระยา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2500
ประตูระบายพลเทพ ปากแม่น้ำสุพรรณ
ประตูระบายพลเทพ ปากแม่น้ำสุพรรณ ที่ตำบลหาดท่าเสา อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ช่องระบายน้ำกว้าง 6.50 เมตร 4 ช่อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2977
ประตูระบายท่าโบสถ์ ประตูระบายท่าโบสถ์ ประตูระบายที่ 2 ของแม่น้ำสุพรรณ ที่ กม. 27.900 ตำบลห้วยงู อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 4 ช่อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2948
ประตูระบายบรมธาตุ ปากแม่น้ำน้อย ที่ตำบลชัยนาท อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 4 ช่อง ควบคุมปริมาณน้ำที่จะส่งไปใช้สำหรับโครงการแม่น้ำน้อย และโครงการทุ่งฝั่งตะวันตก
ประตูระบายบางระจัน ประตูระบายที่ 2 ของแม่น้ำน้อย ที่ กม.42.000 ตำบลโพธิ์ชนไก่ อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 4 ช่อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2448
ประตูระบายยางมณี ประตูระบายที่ 1 ของแม่น้ำน้อย ที่ กม. 79.600 ตำบลองครักษ์ อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 9 ช่อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2448
ประตูระบายผักไผ่ ประตูระบายปลายแม่น้ำน้อย ที่ กม. 127.200 ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 3 ช่อง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2500
ประตูระบายมโนรมย์ ปากคลองชัยนาท-ป่าสัก ที่ตำบลวัดโคก อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 6 ช่อง ควบคุมปริมาณน้ำที่จะส่งไปใช้สำหรับโครงการชัยนาท-ป่าสัก, นครหลวงและส่วนหนึ่งของโครกงารเชียงราก-คลองด่าน รวม 1,839,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2498
ประตูระบายช่องแค ประตูระบายที่ 2 ของคลองชัยนาท-ป่าสัก ที่ กม.46.997 ตำบลช่องแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2500
ประตูระบายโคกกะเทียม ประตูระบายที่ 1 ของคลองชัยนาท-ป่าสัก ที่ กม.87.107 ตำบลโคกกะเทียม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2500
ประตูระบายเริงราง ประตูระบายปลายคลองชัยนาท-ป่าสัก ที่ กม. 120.880 ตำบลหนองโดน อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2501
ประตูระบายคลองเพรียว ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 3 ช่อง กั้นคลองเพรียวที่อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการคลองเพรียว 97,500 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2509
ประตูระบายชลหารพิจิตร ช่องระบายน้ำกว้าง 9 เมตร 6 ช่อง กั้นคลองด่านซึ่งใช้เป็นคลองระบายน้ำสายใหญ่ของทุ่งเชียงราก-คลองด่าน ที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สร้างแทนของเดิมซึ่งใช้งานกว่า 40 ปี เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2497
ประตูระบายำรัฐอำนวย ปากคลองลัดระยอง ที่อำเภอเมือง จังหวัดระยอง ช่องระบายน้ำกว้าง 9 เมตร 2 ช่อง เพื่อบรรเทาอุทกภัยพื้นที่บริเวณจังหวัดระยอง 20,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2443
ฝายบ้านค่าย สูง 2.50 เมตร สันฝายยาว 40 เมตร กั้นแม่น้ำระยอง ที่อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการบ้านค่าย 10,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2448
อ่างเก็บน้ำบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ทำนบสูง 14 เมตร 1,400 เมตร เก็บน้ำได้ 21.6ล้าน ม. ส่งน้ำให้แก่พื้นที่ 8,500 ไร่ ใช้อุปโภคสำหรับอำเภอศรีราชา และตัวจังหวัดชลบุรี สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2502
ประตูระบายพานทอง ปลายคลองระบายน้ำพานทอง ที่อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 2 ช่อง เพื่อบรรเทาอุทกภัยในเขตโครงการคลองพานทอง 18,500 ไร่ และเก็บน้ำจืดไว้ใช้ในฤดูแล้ง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2508
บริเวณหัวงานเชื่อนวชิราลงกรณ์ ก่อนการก่อสร้าง
บริเวณหัวงานเขื่อนวชิราลงกรณ์ ขณะกำลังก่อสร้าง เมื่อ พ.ศ. 2510
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ ทรงวางศิลาฤกษ์ เขื่อนวชิราลงกรณ์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2510
เขื่อนวชิราลงกรณ์ ช่องระบายน้ำกว้าง 12.50 เมตร 8 ช่อง กั้นแม่น้ำแม่กลองที่อำเภอท่าม่วง ใต้จังหวัดกาญจนบุรีลงมา 19 กม. ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในโครงการแม่กลองใหญ่ 2.5 ล้านไร่ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2507 สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2512
ภาพบริเวณเขื่อนวชิราลงกรณ์ จากด้านท้ายน้ำ แสดงให้เห็นประตูเรือสัญจรทางด้านซ้ายมือ และประตูระบายปากคลองส่งน้ำทางด้านขวามือซึ่งได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว
เขื่อนเพชร ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 6 ช่อง กั้นแม่น้ำเพชรบุรีที่ท่าซิก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการเพชรบุรี 136,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2441
เขื่อนแก่งกระจาน กั้นแม่น้ำเพชรบุรีที่เขาเจ้า อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งอยู่เหนือเขื่อนเพชรขึ้นไป 29 กม. เป็นเขื่อนดิน สูง 58 เมตร สันเขื่อนยาว 760 เมตร เก็บน้ำได้ 710 ล้าน ม. เพื่อบรรเทาอุทกภัยในทุ่งเพชรบุรี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจิมเข็มพีคเอก ทำนบอ่างเก็บน้ำเขาเต่า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ 9 เมษายน 2506
อ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจบคีรีขันธ์ ทำนบสูง 4 เมตร ยาว 450 เมตร เก็บน้ำได้ 550,000 ม.
ฝายน้ำหมาน สูง 5 เมตร สันฝายยาว 45 เมตร กั้นห้วยน้ำหมานที่บ้านท่าแพ อำเภอเมือง จังหวัดเลย ทดน้ำส่งให้แก่พื้นที่ในเขตโครงการน้ำหมาน 5,500 ไร่ ฝายนี้สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2443 เป็นฝายทดน้ำแห่งแรกที่กรมชลประทานสร้างขึ้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เขื่อนทดน้ำพิมาย ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 6 ช่อง กั้นแม่น้ำมูลที่คุ้งไทรงาม อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการทุ่งสัมฤทธิ์ 153,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2493
เขื่อนทดน้ำห้วยเสบง ช่องระบายน้ำ กว้าง 4 เมตร 3 ช่อง กั้นห้วยเสนงที่บ้านถนน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการห้วยเสนง 46,200 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2497
อ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ทำนบสูง 11.50 เมตร ยาว 1,020 เมตร เก็บน้ำได้ 6.4 ล้าน ม. ส่งน้ำให้พื้นที่ 5,100 ไร่
อ่างเก็บน้ำแก่งเลิงจาน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทำนบสูง 7 เมตร ยาว 1,600 เมตร เก็บน้ำได้ 6 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งน้ำให้พื้นที่ 6,500 ไร่
อ่างเก็บน้ำห้วยสีทม อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ทำนบสูง 10.50 เมตร ยาว 6.39 เมตร เก็บน้ำได้ 5.9 ล้าน ม. ส่งน้ำให้พื้นที่ 11
คลองส่งน้ำจากอ่างเก็บน้ำห้วยสีทน
ฝายหนองทวาย สูง 5.90 เมตร สันฝายยาว 125 เมตร กั้นน้ำพองที่ตำบลม่วงหวาน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ใต้เขื่อนอุบลรัตน์ลงมาตามลำน้ำ 35 กม.
ท่อปากคลองส่งน้ำจากเขื่อนเก็บกักน้ำลำพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา
เขื่อนเก็บกักน้ำลำพระเพลิง กั้นลำพระเพลิงที่บ้านบุหัวช้าง อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เป็นเขื่อนดินสูง 50 เมตร สันเขื่อนยาว 575 เมตร เก็บน้ำได้ 142 ล้าน ม. เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำลำพระเพลิง และส่วนหนึ่งของลุ่มน้ำ
เขื่อนเก็บกักน้ำลำปาว เขื่อนลำปาวกั้นลำปาวและห้วยยางที่เขตติดต่ออำเภอสหัสขันธ์ อำเภอยางตลาดและอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเขื่อนดินสูง 10.7 เมตร สันเขื่อนยาว 7,800 เมตร นับเป็นเขื่อนที่ยาวที่สุดได้สร้างมาแล้วในประเทศไทย เก็บน้ำได้ 1,260 ล้าน เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำลำปาว และส่วนหนึ่งของลุ่มน้ำชี
ฝายห้วยทรายขาว สูง 9.00 เมตร สันฝายยาว 19.50 เมตร กั้นห้วยทรายขาว ที่อำเภอคล่องท่อม จังหวัดกระบี่ ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการห้วยทรายขาว 3,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2495
ฝายคลองถ้ำ สูง 1.35 เมตร สันฝายยาว 14.70 เมตร กั้นคลองถ้ำ ที่อำเภอเมือง จังหวัดพังงา ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการคลองถ้ำ 1,200 ไร่ สร้างเสร็จเมื่้อ พ.ศ. 2495
ฝายนาท่อม สูง 1.75 เมตร สันฝายยาว 29.75 เมตร กั้นคลองนาท่อม ที่อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการนาท่อม 50,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2496
ฝายนาเตย สูง 1.50 เมตร สันฝายยาว 30 เมตร กั้นคลองนาเตย ที่อำเภอห้วยเหมือง จังหวัดพังงา ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการนาเตย 4,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2497
ฝายปะกาไสย สูง 3.20 เมตร สันฝายยาว 20 เมตร กั้นคลองปะกาไสย ที่อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ทำน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการปะกาไสย 5,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2497
ฝายรัตภูมิ สูง 1 เมตร สันฝายยาว 30 เมตร กั้นคลองรัตภูมิ ที่อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ทดน้ำส่งในพื้นที่ในเขตโครงการรัตภูมิ หรือชะมวง 52,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2501
ฝายดุสน สูง 3.10 เมตร สันฝายยาว 40 เมตร กั้นคลองดุสน ที่อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ทดน้ำส่งให้พื้นที่ในเขตโครงการดุสน 12,600 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2505
ประตูระบายปากระวะ ช่องระบายน้ำกว้าง 6 เมตร 4 ช่อง ก้นช่องขาดระหว่างคลองปากแกงกับชายทะเล ที่บ้านปากระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เพื่อนป้องกันน้ำเค็มและเก็บน้ำจืดไว้ใช้ในเขตโครงการปากระวะ 30,000 ไร่ สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2494
ประตูระบายบางจากช่องระบายน้ำกว้า 6 เมตร 1 ช่อง กั้นคลองบางจาก ที่อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อป้องกันน้ำเค็มและเก็บน้ำจืดไว้ใช้ในเขตโครงการบางจาก 20,000 ไร่ ตลอดจนใช้สำหรับการประปาที่อำเภอปากพนัง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2505
อาการวัดน้ำในคูน้ำ
การใช้น้ำจากคูน้ำ
ถนนบนคันคลองส่งน้ำเขตโครงการเจ้าพระยาใหญ่
การแปรสภาพและรักษาลำน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาตอง
การขุดลอกและทำกันริมแม่น้ำปิงเพื่อขยายเขตเมืองตอนหน้าจังหวัดตากออกไป ในระยะที่ 1 จำนวน 220 ไร่ เริ่มทำ พ.ศ. 2507 เสร็จ พ.ศ. 2509
งานพิเศษ ของ ม.ล.ชูชาติ กำภู
โรงไฟฟ้าไอน้ำ ที่กรมชลประทานเป็นผู้วางแผนไว้ในแผนการไฟฟ้าแห่งชาติ เป็นผู้จัดกู้เงิน และช่วยดูแลการก่อสร้างจนเสร็จโรงไฟฟ้าไอน้ำพระนครเหนือ ที่บางกรวย จังหวัดนนทบุรี ผลิตไฟฟ้าได้ 150,000 กิโลวัตต์
โรงไฟฟ้าไอน้ำแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ผลิตไฟฟ้าได้ 12,500 กิโลวัตต์
โรงไฟฟ้าไอน้ำที่จังหวัดกระบี่ ผลิตไฟฟ้าได้ 40,000 กิโลวัตต์
โรงงานของบริษัทชลประทานซีเมนต์ จำกัด ที่อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เริ่มผลิตปูนซีเมนต์เมื่อ พ.ศ. 2501 ปัจจุบันผลิตได้ปีละ 200,000 ตัน
เตาเผาปูน 2 เตา กำลังผลิตเตาละ 300 ตันต่อวัน
เหมืองลิกไนท์แม่เมาะ จังหวัดลำปาง ผลิตลิกไนท์ได้ประมาณปีละ 600,000 ตัน
โรงย่อยลิกไนท์ ที่เหมืองลิกไนท์แม่เมาะ จังหวัดลำปาง
โรงเรียนช่างชลประทาน สมัยที่ 1 พ.ศ. 2482-2486
ตึกกรมชลประทาน ซึ่งเป็นที่ทำการถาวรแทนตึกหลังเดิมที่ถูกทำลายในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2506
โรงพยาบาลกรมชลประทานปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเตียงคนไข้ 200 เตียง
โรงงานของกรมชลประทาน ที่ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
ตึกเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หอพักนิสิตชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โรงเรียนชลประทานวิทยา ในบริเวณกรมชลประทานปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เริ่มสอนเมื่อ พ.ศ. 2498
โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ ในบริเวณกรมชลประทานปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เริ่มสอนเมื่อ พ.ศ. 2498
บรมบรรพต วัดสระเกศ จังหวัดพระนคร ภาพขณะที่กรมชลประทานกำลังบูรณะ เมื่อ พ.ศ. 2493
บรมบรรพตนี้ได้ทรุดโทรมตามกาลเวลา นอกจากนี้ยังได้รับความกระทบกระเทือนจากระเบิดซึ่งตกลงในบริเวณใกล้เคียง เมื่อสงครามโลกครั้งที่สอง จึงทำให้แตกร้าวมากขึ้นอีก จนใน พ.ศ. 2491
พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เป็นวัดที่กรมชลประทานสร้างขึ้นใหม่ แทนวัดเชิงท่า และวัดหน้าโบสถ์ ซึ่งอยู่ในบริเวณที่ดินที่เวนคืนเพื่อสร้างกรมชลประทานปากเกร็ดสร้างเสร็จพระสงฆ์เข้าจำพรรษาได้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2503
พระอุโบสถวัดชลประทานรังสรรค์ อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เป็นวัดที่กรมชลประทานสร้างขึ้นใหม่ แทนวัดในตำบลบ้านนา อำเภอสามเงา ซึ่งอยู่ในบริเวณอ่างเก็บน้ำของเขื่อนภูมิพล รวม 6 วัด สร้างเสร็จพระสงฆ์เข้าจำพรรษาได้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2404
ตำหนักวัดสระเกศ
มัสยิดคารุ้ลอิสลาม
รางวัลที่ 1 การแต่งรถประกวดประเภทความคิด ใน งานฉลองวันชาติ 2482
ปกหลัง