รวมมติ ค.ร.ม. มติ ก.พ. และระเบียบที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือน
239
38
แฟ้มข้อมูล
ประเภททรัพยากร
ฉบับพิมพ์
4
จำนวนหน้า/ขนาด
394
หน่วยงานที่เผยแพร่
วันที่เผยแพร่
2533
สิทธิ์ในการเข้าถึง
ข้อมูลอ้างอิง
(1990). รวมมติ ค.ร.ม. มติ ก.พ. และระเบียบที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือน. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14156/465350.
ผู้แต่ง (หน่วยงาน)
สารบัญ
ปกหน้า
คำนำ
สารบัญ
5. การดำเนินคดีอาฐาแก่ผู้ทุจริต
-ให้ฟ้องคดีอาญาแก่ผู้ทุจริตเกี่ยวกับการเงินแผ่นดินทุกเรื่อง ม. ๓๓๔๑ ๓๓๕๔/๗๗
22. การเสพสุรา-เล่นการพนัน
-แนวทางสำหรับลงโทษข้าราชการที่เล่นการพนัน ม. ๔๒๗๕/๘๑
40. ทั่วๆไป
-ให้ข้าราชการประจำการและข้าราชการบำนาญผู้ต้องหาคดีอาญาหรือเพ่ง หรือคดีล้มละลาย รายงานให้กระทรวงทบวงกรมเจ้าสังกัดทราบโดยด่วน น. ๘๒๖/๘๒
-ความรับผิดในทางวินัย
--ให้ลงโทษผู้บังคับบัญชาเหนือผู้ทุจริจด้วย ๑๙๔/๘๔
-ก่อนส่งเรื่องให้ตำรวจควรสอบสวนข้อเท็จจริงให้ประจักษ์เสียก่อน ๑๖/๘๖
26. การเรี่ยไร
-ห้ามมิให้กระทรวงทบวงกรมต่างๆ เรี่ยไร ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ๑๗๓/๘๗
9. การสั่งพักราชการ
-กระทำผิดในหน้าที่จนถูกตั้งกรรมการสอบสวนหรือถูกส่งตัวให้ตำรวจสอบสวน ให้พักราชการ ๖๓/๘๘
11. การสั่งลงโทษ
-ให้เจ้าหน้าที่ยึดปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยเคร่งครัดหากฝ่าฝืนให้พิจารณาลงโทษทุกราย ๑๘๐/๓๑
4. การสอบสวน
-การต้องข้าราชการต่างกระทรวงเป็นกรรมการร่วมสอบสวนในเรื่องอื่น ๑๗๘/๙๒
20. การปฏิบัติเกี่ยวกับการเงิน
-ให้ควบคุมสอดส่องเจ้าหน้าที่การเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงการคลังโดยเคร่งครัด ๑๐๔/๙๓
19. ข้าราชการประกอบการค้า
-ให้ผู้บังคับบัญชากวดขันมิให้ข้าราชการประกอบการค้า ๑๓๘/๙๓
-ระเบียบการสอบสวนการทุจริตเกี่ยวกับการเงิน ๑๕๕/๙๓
-รับเงินค่าธรรมเนียมแล้วไม่ลงบัญชีให้ฟ้องคดีอาญาด้วย ๑๕๘/๙๓
-กรมตำรวจขอเปลี่ยนแปลงระเบียบครั้งที่ ๑ ๖/๙๔
29. การรักษาความลับในราชการ
-ห้ามมิให้เอาเรื่องราชการลับและเรื่องที่ยังไม่เปิดเผยไปเผยแพร่ ๑๕๘/๙๔
32. การรักษาสถานที่ราชการ
-ให้ส่วนราชการจัดเวรรักษาราชการตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน เพื่อป้องกันอัคคีภัย ถ้าเวรละทิ้งหน้าที่ให้ลงโทษอย่างน้อยให้ออกจากราชการ ๑๐๑/๙๕
33. การโต้วาที
-ให้ข้าราชการหลีกเลี่ยงในการเข้าร่วมโต้วาที ๑๐๔/๙๕
-ให้กวดขันข้าราชการการป่วยแล้วไปทำงานที่อื่น ๑๑๖/๙๕
-การป้องกันและแก้ไขการงางเพลิงเผาสถานที่ราชการ ๑๖๑/๙๕
3. การสืบสวน
-ให้ผู้บังคับบัญชาสืบสวนดูก่อน ถ้ามีมูลจึงสอบสวน ๒๖๓/๙๕
-การจัดเวรให้อยู่ในดุลยพินิจของเจ้ากระทรวง ๒๙๒/๙๕
35. การปฏิบัติหน้าที่ราชการ
-ให้พิจารณาลงโทษทางวินัยแก่ผู้ปฏิบัติงานคั่งค้างล่าช้า ๒๙๓/๙๕
-ให้กวดขันวินัยในเรื่องการเสพสุราและเล่นการพนัน ๓๐๐/๙๕
-ห้ามข้าราชการและครอบครัวทำและค้าไม้ในที่ที่ตนปกครอง ๖๙/๙๖
-ห้ามเสพสุราขับรถยนต์ ๑๕๖/๙๖
6. ความรับผิดของผู้บังคับบัญชา
-ความรับผิดในทางเพ่ง
--ถ้าเงินขาดบัญชีให้ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบตามลำดับ ๑๖๙/๙๖
-ระเบียบการสืบสวนเมื่อมีเรื่องกล่าวโทษทางวินัย ๑๙๗/๙๗
-แนวทางการลงโทษข้าราชการเล่นการพนันและการเสพสุรา ๒๐๘/๙๖
7. การดำเนินคดีอาญาซึ่งรัฐเป็นโจทก์หรือจำเลย
-ให้กรมตำรวจและกรมอัยการร่วมมือช่วยหาหลักฐารเต็มที่ ๒๒๐/๙๖
-ขาดราชการนอกจากถูกลงโทษทางวินัยแล้ว วันขาดไม่จ่ายเงินเดือน ๒๔๔/๙๖
-ให้งดเรี่ยไรซื้อของขวัญให้ผู้บังคับบัญชาในโอกาสต่างๆ ๒๘๑/๙๖
-ให้กำชับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบการจ้างและพัสดุโดยเคร่งครัด ๓๗/๙๗
27. การรักษาความสามัคคี
-ให้ผู้บังคับบัญชาสอดส่องกวดขัดเพื่อป้องกันมิให้ข้าราชการแตกสามัคคี ๓๘/๙๗
-ให้กำชับมิให้ข้าราชการใช้เวลาราชการไปหาความสำราญหรือประโยชน์สุขส่วนตัว ๔๐/๙๗
-ให้เจ้าสังกัดเร่งรัดการสอบสวนพิจารณาให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว ๔๑/๙๗
-ให้กระทรวงสาธารณสุขกวดขันการออกใบรับรองแพทย์ และให้กระทรวงทบวงกรมต่างๆ กวดขันเรื่องข้าราชการลาป่วยปล้วไปทำงานที่อื่น ๕๗/๙๗
-ให้มีการตรวจโรคแก่ข้าราชการเป็นประจำทุกปี ๕๙/๙๗
-ให้พิจารณาโทษผู้ปฏิบัติงานที่ไม่ชอบหรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ๙๘/๙๗
-ให้กรมกระทรวงเจ้าของคดีค้นหาหลักฐารตามที่พนักงานอัยการสั่งหรือแนะนำ ถ้าไม่อาจกระทำได้โดยลำพังก็ควรขอให้กรมตำรวจช่วยเหลือ ๙๕/๙๗
-ผู้ใดกระทำผิดวินัย ไม่ควรใช้วิธีย้ายเป็นการลงโทษ ๖๘/๙๑
-ห้ามข้าราชการใช้อิทธิพลเข้าดูภาพยนตร์และโดยสารรถประจำทางโดยไม่เสียเงิน ๒๐๕/๙๗
-ให้ลงโทษผู้ลาเท็จและบังคับบัฐชาผู้เป็นใจให้สำเร็จ ๒๐๖/๙๗
25. การเล่นแชร์
-ห้ามข้าราชการและพนันงานขององค์การรัฐบาลเล่นแชร์ ๑๒/๙๘
-ให้เจ้าหน้าที่การเงินและผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงกาคลังโดยเคร่งครัด ๑๖/๙๘
-ข้าราชการที่เป็นกรรมการในบริษัทที่ประกอบการค้าไปในทางไม่สุจริต ต้องรับผิดในทางวินัย ๗๓/๙๘
-ให้เร่งรัดผู้ทำการสอบสวนและดำเนินคดีให้เสร็จโดยเร็ว ๑๐๒/๙๘
-ให้รีบดำเนินคดีแก่ผู้ถูกสั่งพักให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว ๑๒๔/๙๘
24. การสูบฝิ่น
-ระเบียบการลงโทษข้าราชการสูบฝื่น ๑๕๒/๙๘
-ไม่ให้ข้าราชการประกอบการค้าและให้เลิกการค้าประเภทผูกขาด ๑๗๘/๙๘
-ประกาศของคณะรัฐมนตรีเรื่องข้าราชการประกอบการค้า
-คำอธิบาย "ตัวกระทำการในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท" และห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งนั้นๆ ๒๐๐/๙๘
-ระเบียบเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประมูลตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ใดฝ่าฝืนให้ลงโทษอย่างน้อยให้ออกจากราชการ ๒๓๐/๙๘
-ให้พิจารณาโทษสถารหนักแก่ผู้ใช้เวลาราชการไปหาความสำราญส่วนตัว ๒๖๔/๙๘
23. การเล่นการพนันสลากกินรวบ
-ให้ดำเนินคดีและลงโทษข้าราชการที่เล่นการพนันสลากกินรวบอย่างน้อยให้ออกจากราชการ ๒๘๐/๙๘
-กรมตำรวจขอเปลี่ยนแปลงระเบียบครั้งที่ ๒ ๑๖๙/๙๕
41. เบ็ดเตล็ด
-การผ่อนชำระเงินในกรณีที่ทรัพย์สินของรัฐถูกยักยอกหรือสูญหาย
-แก้ไขระเบียบการลงโทษข้าราชการสูบฝิ่น ๒๒๘/๙๙
-ให้คนที่ทำงานไม่ได้ผลออกไปเสียแทนที่จะรอไว้จนครบเกษียณอายุตามกฎหมาย ๗๑/๒๕๐๐
-ให้ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุ และระเบียบการจ้างเหมาโดย เคร่งครัด ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามให้ถือเป็นความผิดและควรลงโทษเสียบ้าง ๑๓๕/๒๕๐๐
-ห้ามเรี่ยไรเพื่อต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้ไปตรวจราชการโดยเด็ดขาด ๑๕/๐๑
-ให้ใช้ดุลยพินิจสั่งการไปตามความจำเป็นและเหมาะสม ๙๑/๐๑
28. การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
-ให้ข้าราชการเป็นมิตรกับประชาชนและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ๑๑๑/๐๑
-กวดขัดข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทุกคน รัฐมนตรีทุกท่านช่วยกันรักษาความลับโดยเคร่างครัด แม้จะไม่เป็นความลับ แต่ยังไม่สมควรจะเปิดเผย ก็ให้ระงับยับยั้งไว้ก่อน ๗/๐๒
-ให้ลงโทษสถานหนักแก่ผู้เลิกงานก่อนเวลา ๑๐๘/๐๒
-ไม่รับฟังบัตรสนเท่ห์ เว้นแต่ระบุหลักฐานกรณีแวนล้อมปรากฏชัดแจ้ง ตลอดจนชี้พยานบุคคลแน่นอน ๑๔๘/๐๒
-ให้กำชับหน่วยราชการต่างๆ อย่าให้มีการเรี่ยไรและให้ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีโดยเคร่งครัด ๑๐/๐๓
-ทุจริตต่อหน้าที่หรือละทิ้งหน้าที่ราชการเกินกว่า ๑๕ วันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ไล่ออกจะปรานีลดโทษได้เพียงปลดออก ๑๒๕/๐๓
-ให้ระมัดระวังอัคคีภัยในสถานที่ราชการ ๑๔๕/๐๓
--ความรับผิดชอบของข้าราชการในทางเพ่ง ๑๕๕/๐๓
-ให้ข้าราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นมิตรกับประชาชนและอำนวยความสะดวกตามสมควร ห้ามกดขี่ข่มแหง ๑๐๒/๐๔
-การเก็บรักษาเงินของหน่วยราชการ ๑๑๐/๐๔
-ให้หน่วยราชการต่างๆ กำชับให้ข้าราชการอุทิศเวลาให้แก่ราชการโดยเคร่งครัด ๑๑๔/๐๔
-ให้กำชับให้ข้าราชการร่วมมือร่วมใจกันทำงานด้วยความสามัคคีถ้าฝ่าฝืนให้ลงโทษ ๑๑/๐๕
17. การเปลี่ยนแปลงโทษ
-การลงโทษ ไล่ ปลด หรือให้ออก เป็นการพ้นราชการโดยมีเงื่อนไขยังไม่เด็ดขาดอาจเปลี่ยนแปลงโทษได้ ๓๖/๐๕
-ห้ามมิให้มีการแสดงพลอร์โชว์หรือระบำที่แสดงเป็นการยั่วยุกามารมณ์ในที่สาธารณะสถานหรือในสถานที่ของทางราชการ ๒/๐๘
-ให้กวดขันการปฏิบัติงานตรวจสอบผลงานพร้อมสอดส่องลงโทษเจ้าหน้าที่ผู้เบียดเบียนประชาชนทุกกรณี ๙/๐๙
-ขอให้สอดส่องความประพฤติของผู้ใต้บัญชาในเรื่องเสพสุรา ๒๐/๐๙
-ขอให้กระทรวงทบวงกรมและหน่วยราชการสอดส่องป้องกันมิให้มีนายหน้าตามสถานที่ราชการ ๒๑/๐๙
-ให้เร่งรัดการสอบสวนให้เสร็จไปโดยเร็ว อย่าให้ผู้ถูกกล่าวหาเดือดร้อน ๘๘/๐๙
-ถ้าปรากฏว่าข้าราชการที่ได้รับอนุฐาตให้ลาไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ ไม่เดินทางกลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการเมื่อครบกำหนดวันลาเป็นเวลาเกินกว่า ๑๕ วัน มีเจตนาจะละทิ้งหน้าที่ ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ก็ให้ลงโทษตามมติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือ ที่ น.ว. ๑๒๕/๒๕๐๓ ลงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๐๓ ๕๐/๑๐
31. งานสังคม
-ให้ข้าราชการส่วนภูมิภาคงดเว้นการเลี้ยงรับเลี้ยงส่งฉลองการเลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง ๕๙/๑๐
-ทุจริตหรือพยายามทุจริตในการสอบควรลงโทษสถานหนัก ๕๐/๑๑
-ห้ามส่วนราชการจัดสรรที่ดิน ๔๕/๑๒
-ห้ามเรียกใบเสร็จรับเงินจากเจ้าหนี้ หรือให้ผู้มีสิทธิรับเงินลงลายมือชื่อรับเงินไว้ล่วงหน้า ๖๒/๑๒
-ให้ลงโทษเจ้าหน้าที่การเงินและการบัฐชีที่บกพร่องละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ฯลฯ อย่างจริงจัง ถ้าผู้บังคับบัญชาละเลย ให้ลงโทษด้วย ๘๙/๑๒
-ให้พิจารณาลงโทษข้าราชการผู้ที่ศึกษา ณ ต่างประเทศโดยฝ่าฝืนมติ ก.พ. หรือศึกษานอกเหนือจากแนวการศึกษา ๘๓/๑๓
-ทุจริตเบิกเงิน พ.ข.ต. เพิ่มสำหรับบุตรและคู่สมรสเป็นเท็จให้ลงโทษสถานหนัก ๒๕/๑๔
--ซ้อมความเข้าใจว่าจะลงโทษผู้บังคับบัญชาหรือไม่ก็แล้วแต่กรณี ๖๓/๑๔
21. การเบิกจ่ายเงินเดือนข้าราชการ
-ระหว่างควบคุมตัวตามคำพิพากษาของศาลคดีอาญา ๔/๑๕
30. การไว้ผมและการแต่งกาย
-ระเบียบว่าด้วยการไว้ผมและการแต่งกายของข้าราชการ ฯ ๕๕/๑๖
-ห้ามข้าราชการเชิญแชกทั่วไปมาเลี้ยงวันเกิดหรือเลี้ยงรับเลี้ยงส่งฉลองยศ หรือตำแหน่ง ขึ้นบ้านใหม่ ครบคอบแต่งงาน หรือโกนจุก บวชนาค หรืองานอื่นใดนอกจากที่ระบุดุงกล่าว ๖๗/๑๖
-ห้ามข้าราชการรับเป็นเจ้าภาพหรือประธานในพิธีการแห่งธุรกิจการค้าของเอกชน ๖๗/๑๖
-ห้ามข้าราชการรับเลี้ยงจากพ่อค้าภัตตาคารใดๆ หรือรับบริการจากสถานอบายมุขหรือสถานเริงรมย์ต่างๆจากพ่อค้า ๖๗/๑๖
-ให้ถือปฏิบัติตามหลักการฟ้องคดีอาญาแก่ผู้ทุจริตเกี่ยวกับการเงินโดยเคร่งครัด ๑๔๕/๑๗
34. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
-ให้ข้าราชการวางตัวเป็นกลางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๕/๑๙
-ห้ามข้าราชการเป็นกรรมการผู้จัดการหรือผู้จัดการหรือตำแหน่งหน้าที่อื่นในบริษัทห้างร้านเอกชน ๖๒/๒๐
-คำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีผลเป็นกฎหมาย ๖๒/๒๐
-ห้ามข้าราชการสมรสกับผู้อพยพลี้ภัย ๗๙/๒๐
-ให้เร่งรัดการดำเนินการทางวินัยให้เสร็จไปโดยเร็วและให้ ก.พ. สำรวจสถิติข้อมูลในเรื่องที่ถูกสอบสวน ๘๙/๒๐
-ห้ามจัดของขวัญให้ผู้ใหญ่ และห้ามผู้ใหญ่รับของขวัญ ๒๐๙/๒๑
38. หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน
-ให้คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยรับผิดชอบเกี่ยวกับการสอบสวนทางวินัย โดยถือว่าเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติให้สำเร็จถ้ารณะกรรมการสอบสวนทำการสอบสวนและสรุปผลการสอบสวนเสนอผู้สั่งแต่งตั้งไม่แล้วเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน หรือล่าช้าเกินสมควรโดยไม่มีเหตุผล ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาความบกพร่องต่อหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน ๒๔/๒๒
-ห้ามข้าราชการจัดงานรื่นเริง ไปอวยพรหรือจัดของขวัญให้ผู้บังคับบัฐชา หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในโอกาสขึ้นปีใหม่และห้ามมิให้ผู้บังคับบัญชา หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทุกระดับรับของขวัญหรือการอวยพรจากข้าราชการ ๑๙๘/๒๒
8. ข้าราชการที่ต้องคดีอาญาในการปฏิบัติหน้าที่
-ให้เจ้าสังกัดช่วยเหลือเรื่องประกันตัวและค่าดำเนินคดีอื่นๆ ๒๙/๒๓
-เมื่อได้มีการดำเนินคดีอาญาและฟ้องร้องผู้ทุจริตเกี่ยวกับการเงินแล้วห้ามถอนคำร้องทุกข์หรือถอนฟ้อง ๙๗/๒๓
-เงินเดือนของข้าราชการที่ถูกสั่งลงโทษ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ๒๑๔/๒๓
-ระเบียบการจ่างเงินเดือนให้แก่ข้าราชการซึ่งถูกสั่งให้ออกปลดออก หรือไล่ออกจากราชการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและข้าราชการซึ่งถูกสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ แล้วต่อมาได้รับการพิจารณายกโทษ พ.ศ. ๒๕๒ภ
39. ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
-การลาถือตามระเบียบการลาโดยอนุโลม ๑๗/๒๔
-ห้ามข้าราชการสมรสกับผู้อพยพลี้ภัย ๓๑/๒๔
-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับส่งงานในหน้าที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๔
-ระหว่างถูกควบคุมตัวดำเนินคดีอาญา ๒๗๐/๒๔
-การสอบสวนทางวินัยให้ดำเนินการตาม กฎ ก.พ. ฉบับที่๖ โดยเคร่งครัด ๒๐๐/๒๕
-หลักปฏิบัติเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๓๙/๒๖
-การไปเป็นพยานศาล ๕๖/๒๖
-สิทธิประโยชน์เกื้อกูลของลูกจ้าง ๖๕/๒๖
-ให้เร่งรัดการดำเนินงานตามแผนงานให้แล้วเสร็จตามที่กำหนดหากล่าช้าให้พิจารณาโทษผู้ก่อให้เกิดผลเสียหาย ๑๕๒/๒๖
2. บัตรสนเท่ห์, การร้องเรียน
-ในทุกกรณีที่มีการร้องเรียนจะต้องตอบให้ทราบว่าจะรับไว้พิจารณาหรือไม่เพราะเหตุใด ๑๒/๒๗
36. การล้างมลทิน
-ให้ออกซึ่งมิใช่ความผิดวินัย ไม่ควรถูกพิจารณาเพิ่มโทษอีก ๖๙/๒๗
18. การลา
-หลักเกณฑ์การลาออกจากราชการ ๑๕๗/๒๗
-เลิกใช้บริการทางเพศ ๒๙/๒๘
-เวรละทิ้งหน้าที่ให้ลงโทษตามความร้ายแรงแห่งกรณี ๑๐๓/๒๘
-ระเบียบการช่วยเหลือข้าราชการหรือลูกจ้างที่ต้องหาคดีอาญา ๑๖๖/๒๘
-ให้ดำเนินการทางวินัยทันที่แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุโดยเคร่งครัด ๕๐/๒๙
-หลักปฏิบัติเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๗๕/๒๙
37. การให้ข่าวราชการ
-ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๒๙ ๑๐๑/๒๙
-ห้ามจัดของขวัญให้ผู้ใหญ่ และห้ามผู้ใหญ่รับของขวัญ ๑๓๖/๒๙
--ให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับสอดส่อง ดูแล เข้มงวด กวดขันให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับอย่างเคร่งครัด ถ้าพบการทุจริตหรือบกพร่อง ให้พิจารณาลงโทษอย่างจริงจัง ๓๔/๓๐
-ห้ามข้าราชการและครอบครัวทำและค้าไม้ในที่ที่ตนปกครอง ๖๑/๓๑
-หลักปฏิบัติเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๗๑/๓๑
1. การปฎิบัตตามมติคณะรัฐมนตรี
-ให้เจ้าหน้าที่ยึดปฎบัตตามมติคณะรัฐมนตรีโดยเคร่งครัดกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามมติได้ให้ขอทบทวน หากฝ่าฝืนให้พิจารณาลงโทษทางวินัยทุกราย ๑๘๐/๓๑
-ห้ามข้าราชการแสวงหาผลประโยชน์หรือยินยอมให้ผู้อื่นแสวงหาผลประโยชน์เกี่ยวกับการทำไม้ และการบุกรุกแผ้วถางป่า ๑๙๔/๓๑
-ปลอมลายมือชื่อราชการด้วยกันไปหาประโยชน์ ให้ถือเป็นความผิดวินัยร้ายแรง และลงโทษอย่างน้อยให้ออกจากราชการ ๒๒/๓๒
-การเรี่ยไรของทางราชการ ๙๔/๓๒
-ห้ามรับเลี้ยงจากพ่อค้าที่กระทำธุรกิจกับหน่วยราชการของตนหรือจากผู้ที่มาติดต่อขออนุญาตหรือขอรับบริการจากทางราชการหรือจากผู้ที่อาจได้รับประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่ของตน ปร. ๓๘/๑๙
-ห้ามแต่งเครื่องแบบหรือเครื่องแต่งกายที่เห็นได้ว่าเป็นข้าราชการเข้าไปในไนท์คลับ สถานอบายมุขหรือสถานเริงรมย์ต่างๆ ปร. ๓๘/๑๙
-ห้ามรับเชิญไปเป็นประธานหรือเจ้าภาพในพิธีเปิดบริษัทห้างร้านทางการค้าของเอกชน ปร. ๓๘/๑๙
-ห้ามออกบัตรเชิญ หรือประกาศเชิญเป็นทางการทั่วไป เพื่อเลี้ยงในการเลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนแปลงยศหรือตำแหน่ง การเลี้ยงฉลองวันเกิด การฉลองขึ้นบ้านใหม่และงานสังคมซึ่งมิใช่เป็นประเพณี ปร.๓๘/๑๙
-การปฏิบัติตนของข้าราชการฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร
-ระเบียบการสอบสวนข้าราชการต่างสังกัดร่วมกระทำผิด ก.พ. ๓/๙๔
16. คำว่า "ก็ให้เป็นอันพับไป"
-เมื่อได้ลงโทษสถารเบาหรือลงทัณฑ์อย่างอื่นไปแล้ว ถ้าจะลงโทษสถานหนักในกรณีความผิดเดียวกันนั้น ก็ให้ทำได้โดยถือว่าโทษสถารเบาหรือทัณฑ์อย่างอื่นที่ลงไปแล้วเป็นพับไป ไม่ต้องยกเลิกโทษเดิมและไม่ต้องค์นเงินเดือนที่ถูกตัดหรือลดไป ก.พ. ๑๗/๔๗
-ถูกลดขั้นเงินเดือนภายหลังเปลี่ยนแปลงเป็นไล่ ปลด หรือให้ออกไม่ต้องค์นเงินเดือนที่ถูกลดหรือตัด ก.พ. ๑๗/๙๗
-ลงโทษลดขั้นเงินเดือนหรือตัดเงินเดือนไปแล้ว ถ้าจะไล่ออกในกรณีความผิดเดียวกัน ไม่ต้องยกเลิกโทษเดิมและคืนเงินเดือนที่ถูกลดหรือตัดไปนั้น ก.พ. ๑๗/๙๗
-ให้กวดขันลงโทษข้าราชการผู้ใช้อำนาจเหนือประชาชนและให้ลงโทษผู้บังคับบัญชาผู้ช่วยเหลือผู้กระทำผิดหรือผู้เสนอความเห็นเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายผิดพลาด ก.พ. ๑๒/๒๕๐๐
-ข้าราชการที่ถูกลงโทษและภายหลังได้รับการล้างมลทินต้องบันทึกการถูกลงโทษไว้ในประวัติและหมายเหตุไว้ด้วยว่าได้รับการล้างมลทินแล้ว ก.พ. ๒๕/๒๕๐๐
-ซ้อมความเข้าใจเรื่องเสนอความเห็นเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายผิดพลาด ก.พ. ๑/๐๑
-การสอบสวน รวมทั้งการทำรายงานการสอบสวนสรุปข้อเท็จจริงและทำความเห็นเสนอด้วย ก.พ. ๒/๐๑
-ทุจริจในการสอบให้ลงโทษสถานหนัก ก.พ. ๑/๐๒
14. การรับทราบคำสั่งให้พ้นจากราชการ
-ไม่จำเป็นจะต้องลงนามรับทราบเสมอไป หากยืนยันได้ว่าได้นำคำสั่งไปให้ผู้ถูกสั่งให้ออกทราบแล้ววันใด แม้จะไม่ยอมลงนามรับทราบ ก็ถือว่าได้รับทราบแล้ว ก.พ. ๑๙/๐๓
-การล้างมลทิน ล้างแต่โทษ ไม่ล้างความผิด ก.พ. ๒/๐๔
10. การให้ออกจากราชการ
-ให้ออกตามมาตรา ๓๗ และ ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๔๙๗ ไม่ใช่การลงโทษ ไม่ควรระบุในคำสั่งให้ออกว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย (เทียบกับมาตรา ๙๗ และมาตรา ๙๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๑๘) ก.พ. ๒/๐๘
13. การรายงานการลงโทษ
-กระทำผิดร่วมกันหายคน ให้รายงานรวมเป็นเรื่องเดียวกันหากรวมไม่ได้ ให้บอกด้วยว่ามีผู้ใดบ้าง และรับโทษอะไร ก.พ. ๑๑/๐๘
-ให้รีบสอบสวนพิจารณาโทษทางวินัยโดยไม่ต้องรอผลทางคดีอาญา ก.พ. ๔/๐๙
-ผู้ต้องหาคดีอาญาซึ่งมิใช่ความผิดลหุโทษ ถ้ากรณีทางวินัยไม่ปรากฏชัด ให้รอผลคดีอาญา ก.พ. ๙/๐๙
-ให้รายงานการสั่งตั้งกรรมการสอบสวน ผลการสอบสวนทุกระยะและขอทราบสถิติข้อมูลเกี่ยวกับการสอบสวน ก.พ. ๑๑/๐๙
-ทุจริตเบิกเบี้ยเลี้ยงค่าพาหนะ และเงินอื่นในทำนองเดียวกันเป็นเท็จ ควรลงโทษสถาณหนัก ก.พ. ๖/๑๑
15. การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ
-สิทธิในการถอนอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ
12. อำนาจการลงโทษ
-ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจสั่งลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาได้เท่ากับอธิบดี อธิบดีจึงไม่ใช่ตำแหน่งเหนือผู้ว่าราชการจังหวัด ไม่มีอำนาจสั่งเพิ่มโทษ, ลดโทษ หรือยกโทษที่ผู้ว่าราชการจังหวัดได้สั่งลงโทษไปแล้ว ก.พ. ๒/๑๒
-ลงโทษตามมติ อ.ก.พ. จังหวัด และผู้ถูกลงโทษไม่อุทธรณ์ ผู้บังคับบัญชา (ร.ม.ต. ปลัดกระทรวง, หรืออธิบดี) จะนำเรื่องเสนอ อ.ก.พ. กระทรวงพิจารณาเพื่อลดโทษหรือสั่งลดโทษเองไม่ได้ ก.พ. ๕/๑๒
-สำนวนการสอบสวนวินัยการล้มละลาย ผู้นั้นก็ยังขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๒๔(๙) ต้องสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๕๙ ก.พ. ๑๑/๒๙
-ควรลงโทษข้าราชการที่เรียกและรับเงินจากผู้สมัครสอบเข้ารับราชการในสถานหนักเช่นเดียวกับทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ก.พ. ๑๕/๑๖
-ให้กระทรวงทบวงกรมต่างๆ กำชับให้ข้าราชการปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการจัดซื้อพัสดุและการจ้างอย่างเคร่งครัด ผู้ใดฝ่าฝืนควรลงโทษสถานหนัก ก.พ. ๒๑/๑๗
-ปัญหาการสอบสวนที่เนื่องมาจากกฎหมายเก่า ก.พ. ๑๔/๑๘
-การสั่งสงโทษและสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๒๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๑๘ ก.พ. ๑๔/๑๘
-วิธีการดำเนินการเกี่ยวกับการอุทรณ์คำสั่งลงโทษเนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๑๘ ก.พ. ๕/๒๐
-อุทรณ์ต่อนายกรัฐมนตรีโดยผ่านผู้บังคับบัฐชาเดิมก็ให้รับไว้แล้วส่งต่อไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาได้ ก.พ. ๕/๒๐
-การสอบสวนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๑๕๑๘ ก.พ. ๑๒/๒๑
-การสอบสวนตามมาตรา ๙๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๑๘/ ก.พ. ๑๙/๒๑
-การลาออกจากราชการ ก.พ. ๑๐/๒๓
-การเบิกเงินค่าอาหารทำการนอกเวลา ก.พ. ๘/๒๔
-ให้บันทึกการถูกลงโทษในประวัติและหมายเหตุไว้ว่าได้รับล้างมลทินและรายงานลงโทษมาด้วย ก.พ. ๓/๒๖
-การปราบปรามข้าราชการเล่นการพนันสลากกินรวบ ก.พ. ๔/๒๖
-หลักเกณฑ์การลาออกจากราชการ ก.พ. ๘/๒๗
-แนวทางพิจารณาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ก.พ. ๒/๒๘
-การสั่งลงโทษให้ระบุในคำสั่งลงโทษว่าควรได้รับโทษระดับใดและเมื่อลดหย่อนแล้วให้ได้รับโทษสถานใด ก.พ. ๓/๒๘
-ให้การกลับไปกลับมาให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาโทษทางวินัย ตามควรแก่กรณี ก.พ. ๑/๒๙
-คุณสมบัติของกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ.ฉบับที่ ๑๘ ก.พ. ๖๑๒๙
-แนวทางพิจารณาโทษทางวินัย กรณีเหตุในลักษณะคดี ก.พ. ๗/๒๙
-แม้ศาลจะสั่งยกเลิกการล้มละลาย ผู้นั้นก็ยังขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๒๔(๙) ต้องสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๕๙ ก.พ. ๑๑/๒๙
-แนวทางลงโทษกรณีการฌาปนกิจสงเคราะห์ ก.พ. ๓/๓๐
-ให้บันทึกการถูกลงโทษในประวัติและหมายเหตุไว้ว่าได้รับล้างมลทินและรายงานลงโทษมาด้วย ก.พ. ๑/๓๑
-แม้ข้าราชการซึ่งมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง จะออกจากราชการไปแล้ว ผู้บังคับบัญชามีอำนาจที่สั่งลงโทษลดขั้นเงินเดือน ตัดเงินเดือน หรือภาคทัณฑ์ย้อนหลังได้ ก.พ. ๔/๓๑
-การสั่งเพิ่มโทษหรือลดโทษตามมาตรา ๙๒ เป็นไม่ถึงออกจากราชการให้สั่งให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่คำสั่งลงโทษเดิมใช้บังคับ ก.พ. ๖/๓๑
-กรณีถูกจับกุมคุมขังหากถูกจับกุมขังอยู่ก็ไม่ต้องยื่นใบลาแต่ต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
-ข้าราชการซึ่งต้องหาว่าทำผิดวินัยร้ายแรง ตายก่อนการสอบสวนยังไม่เสร็จ
-ระเบียบการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยข้าราชการ
-ระหว่างพักราชการ
-ระเบียบการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยลูกจ้างประจำ
-ระหว่างให้ออกจากราชการ
-รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุได้รับความเสียหายให้แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากฝ่าฝืนควรจะได้พิจารณาทางวินัยและหรือดำเนินคดีอาญาด้วย
-วินัยของลูกจ้างเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง
-ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๒๕
-อำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดค่าจ้าง หรือลดขั้นค่าจ้าง
-การอุทรธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์
-การร้องทุกข์และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์
-ระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๐๒
-ถูกควบคุมตัวระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาไม่ต้องลา
-พ.ร.บ.เงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ. ๒๕๐๒
-พ.ร.ฎ. การจ่ายเงินเดือนเงินปี บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. ๒๕๒๒
ปกหลัง