เรียกดู
รายการที่เพิ่มล่าสุด
รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566-2570) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา; คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2567-02)ปก คำนำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อมุ่งสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงตามหลักธรรมาภิบาล -กลยุทธ์ที่ 1.1 บริหารจัดการแผนกำลังคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและขับเคลื่อนองค์กร ให้มีสมรรถนะสูงตามหลักธรรมาภิบาล --แผนงานที่ 1.1.1 การบริหารจัดการแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กรให้มีสมรรถนะสูง ---โครงการ วางแผนและบริหารกำลังคนทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่สอดคล้องกับบทบาทภารกิจขององค์กร (Workforce Planning) --แผนงานที่ 1.1.2 การพัฒนามาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติงานในอนาคต ---โครงการที่ 1 ปรับปรุงมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ---โครงการที่ 2 ปรับปรุงมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง --แผนงานที่ 1.1.3 พัฒนาระบบการสรรหาบุคลากรเพื่อให้ได้คนดี คนเก่ง ตามหลักธรรมาภิบาล ---โครงการ สื่อสารภาพลักษณ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาระบบและนวัตกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักธรรมาภิบาล --แผนงานที่ 1.2.1 พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ---โครงการ พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์ เครื่องมือ และกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลฯ --แผนงานที่ 1.2.2 พัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความโปร่งใส และเป็นไปตามระบบคุณธรรม ---โครงการที่ 1 นำระบบคุณธรรมมาปรับใช้กับการบริหารงานบุคคล ---โครงการที่ 2 สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการนำระบบคุณธรรมมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน --แผนงานที่ 1.2.3 พัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อพัฒนามาตรฐานให้สูงขึ้น ---โครงการ พัฒนานวัตกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อพัฒนามาตรฐานให้สูงขึ้น -กลยุทธ์ที่ 1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ --แผนงานที่ 1.3.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ(Digitalize HR Processes) ---โครงการ พัฒนาระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัล --แผนงานที่ 1.3.2 พัฒนาและเชื่อมโยงข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (Database) ---โครงการ พัฒนาฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อสนับสนุนงานนิติบัญญัติอย่างมืออาชีพ -กลยุทธ์ที่ 2.1 พัฒนาบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพในการสนับสนุนกระบวนงานนิติบัญญัติ --แผนงานที่ 2.1.1 พัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ ---โครงการ ส่งเสริมความเป็นวิชาการในการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ --แผนงานที่ 2.1.2 พัฒนาภาวะผู้นำให้กับบุคลากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ---โครงการ พัฒนาความเป็นผู้นำ (Leadership Development) ----1. โครงการสร้างเสริมจริยธรรมนำทีมงาน ----2. โครงการพัฒนาความเป็นผู้นำ --แผนงานที่ 2.1.3 พัฒนาทักษะดิจิทัลของบุคลากร ---โครงการ พัฒนาทักษะดิจิทัลให้แก่บุคลากรของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 --แผนงานที่ 2.1.4 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศ ---โครงการ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศสำหรับบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -กลยุทธ์ที่ 2.2 พัฒนาความพร้อมของบุคลากร เพื่อการปฏิบัติหน้าที่นักกฎหมายนิติบัญญัติ --แผนงานที่ 2.2.1 พัฒนาบุคลากรสายงานนิติการให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติ ---โครงการ พัฒนาข้าราชการสายงานนิติการให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติ --แผนงานที่ 2.2.2 พัฒนานักกฎหมายนิติบัญญัติ และระบบการจัดการนักกฎหมายนิติบัญญัติ ---โครงการที่ 1 พัฒนานักกฎหมายนิติบัญญัติ ตามคู่มือการดำเนินการเกี่ยวกับนักกฎหมายนิติบัญญัติ ---โครงการที่ 2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการนักกฎหมายนิติบัญญัติให้มีประสิทธิภาพ -กลยุทธ์ที่ 2.3 สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง --แผนงานที่ 2.3.1 สร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ---โครงการ สร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง --แผนงานที่ 2.3.2 การบริหารจัดการความรู้ ---โครงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ และติดตามการนำองค์ความรู้ไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --แผนงานที่ 2.3.3 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ---โครงการ ส่งเสริมการสร้างและใช้นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติและการบริการภายในองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมการทำงานที่ยึดหลักคุณธรรม หลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์ส่วนรวม -กลยุทธ์ที่ 3.1 ปลูกฝังกรอบความคิด (Mindset) ที่มุ่งเน้นประโยชน์ส่วนรวมและค่านิยมเพื่อสร้างจิตสำนึกการเป็นข้าราชการที่ดี --แผนงานที่ 3.1.1 ปลูกฝังกรอบความคิดที่มุ่งเน้นประโยชน์ส่วนรวม และค่านิยมร่วมของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ---โครงการที่ 1 เสริมสร้างเครือข่ายและขยายความร่วมมือด้านคุณธรรมและจริยธรรมในองค์กร ---โครงการที่ 2 ส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาล -กลยุทธ์ที่ 3.2 เสริมสร้างมาตรฐานคุณธรรม จริยธรรมและความโปร่งใส วินัยข้าราชการการป้องกันการทุจริต --แผนงานที่ 3.2.1 กำหนดแนวทางและขับเคลื่อนด้านคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริม สนับสนุนการป้องกันการกระทำผิดวินัยของข้าราชการรัฐสภา ---โครงการที่ 1 การจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและผลักดันการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2563-2567) และการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ---โครงการที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน และผลักดันการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2563-2567) ---โครงการที่ 3 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยและจริยธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 --แผนงานที่ 3.2.2 กำหนดแนวทางและขับเคลื่อนการป้องกันการทุจริต และประพฤติมิชอบ ในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ---โครงการที่ 1 กำหนดแนวทางการป้องกันการทุจริต ในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ---โครงการที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินการตามแนวทางการป้องกันการทุจริตในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ---โครงการที่ 3 กำหนดแนวทางการสร้าง ส่งเสริม และปลูกฝังวัฒนธรรมสุจริต (Integrity Culture) -กลยุทธ์ที่ 3.3 การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กับการปฏิบัติงานและการดำเนินชีวิต --แผนงานที่ 3.3.1 ส่งเสริม สนับสนุน การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานและการดำเนินชีวิต ---โครงการ เสริมสร้างดุลยภาพชีวิตและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างองค์กรที่มีความสุข -กลยุทธ์ที่ 4.1 สร้างความผูกพันของบุคลากรในองค์กร (Employee Engagement) --แผนงานที่ 4.1.1 สร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากรเพื่อสร้างความผูกพันของบุคลากรในองค์กร (Employee Engagement) ---โครงการที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมการสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากร ---โครงการที่ 2 พัฒนาระบบนิเวศ (Ecosystem) เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ และความผูกพันในองค์กร -กลยุทธ์ที่ 4.2 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความสุขของบุคลากร (Happy Workplace) --แผนงานที่ 4.2.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความสุขของบุคลากร (Happy Workplace) ---โครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและความสุขของบุคลากร (Happy Workplace) -กลยุทธ์ที่ 4.3 ขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อมและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) --แผนงานที่ 4.3.1 ขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อมและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) ---โครงการ ขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อมและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) แนวทางการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ2567-02รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ การหาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมือง 22 มีนาคม 2535อัครเมศวร์ ทองนวล; สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา หอสมุดรัฐสภา (หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2535-06)ปกหน้า คำนำ สารบัญ เอกสารของกรมการปกครอง จำนวนผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วประเทศ พรรคปวงชนชาวไทย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคราษฎร พรรคชาติไทย พรรคประชากรไทย พรรครวมพลังใหม่ พรรคกิจสังคม พรรคสหประชาธิปไตย พรรคเอกภาพ พรรคมวลชน พรรคพลังธรรม พรรคเกษตรเสรี พรรคความหวังใหม่ พรรคสามัคคีธรรม พรรคท้องถิ่นก้าวหน้า ผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 22 มีนาคม 2535 ปกหลัง2535-06รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ สาระสังเขปข้อมูลปัญหาสามจังหวัดภาคใต้สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2531)ปกหน้า ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้[อัครเมศวร์ ทองนวล] -ความเป็นมา -สาระสังเขปข้อมูล --ปัญหาด้านการเมืองและการปกครอง --๑. ปัญหาด้านนโยบาย --๒. ปัญหาของระบบบริหารราชการ --๓. ปัญหาด้านบุคลากร --๔. ปัญหาด้านสวัสดิภาพของประชาชน --๕. ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ --แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการเมืองและการปกครอง --มาตรการระยะสั้น --มาตรการระยะยาว --ปัญหาด้านสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม --แนวทางแก้ไขปัญหาด้านสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม --ปัญหาด้านเศรษฐกิจ --แนวทางแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ -เอกสารอ้างอิงและค้นคว้าเพิ่มเติม -สาระสังเขปข้อมูลที่พิมพ์เผยแพร่แล้ว ปกหลัง2531รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ สาระสังเขปข้อมูลตลาดการค้าในกลุ่มประเทศอินโดจีนสำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2531)ปกหน้า ตลาดการค้าในกลุ่มประเทศอินโดจีน[อัครเมศวร์ ทองนวล] -ความเป็นมา -สาระสังเขปข้อมูล --บทนำ --การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศในกลุ่มอินโดจีน --๑. การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศเวียตนาม --๒. การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา --๓. การค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศลาว --บทสรุป -เอกสารอ้างอิงและค้นคว้าเพิ่มเติม ปกหลัง2531รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ สาระสังเขปข้อมูลการแก้ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ ด้านการศึกษาสำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2531)ปกหน้า ปกใน การแก้ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ด้านการศึกษา ปกหลัง2531รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ สาระสังเขปข้อมูล กฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกาเทรด บิลล์; สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2531)ปกหน้า กฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา[อัครเมศวร์ ทองนวล] ความเป็นมา สาระสังเขปข้อมูล ผลกระทบต่อประเทศไทย บทสรุป เอกสารอ้างอิงและค้นคว้าเพิ่มเติม สาระสังเขปข้อมูลที่พิมพ์เผยแพร่แล้ว ปกหลัง2531รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภาว่าด้วยการลาของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2535สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กองกลาง งานบริหารงานบุคคลและสวัสดิการ (งานบริหารงานบุคคลและสวัสดิการ กองกลาง สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2535)ปกหน้า ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 ประเภทการลา หมวด 3 การลาของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ปกหลัง2535รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2517)สารบัญ พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2517 ปกหลัง2517รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ หนังสือที่ระลึกในงานพระกฐินพระราชทานรัฐสภา พ.ศ. 2513สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (รัฐสภา, 2513)ปกหน้า คำนำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 -หมวด 1 บททั่วไป -หมวด 2 พระมหากษัตริย์ -หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย -หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย -หมวด 5 แนวนโยบายแห่งรัฐ -หมวด 6 อำนาจนิติบัญญัติ -หมวด 7 อำนาจบริหาร -หมวด 8 อำนาจตุลาการ -หมวด 9 ตุลาการรัฐธรรมนูญ -หมวด 10 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ -หมวด 11 บทสุดท้าย -บทเฉพาะกาล ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของวุฒิสภา พ.ศ. 2512 -หมวด 1 การเลือกประธานและรองประธานวุฒิสภา -หมวด 2 อำนาจและหน้าที่ของประธานและรองประธานวุฒิสภาและเลขาธิการรัฐสภา -หมวด 3 การประชุมสภา -หมวด 4 ญัตติ -หมวด 5 การอภิปราย -หมวด 6 การลงมติ -หมวด 7 กรรมาธิการ -หมวด 8 กระทู้ถาม -หมวด 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -หมวด 10 การแถลงนโยบายและการเปิดอภิปรายทั่วไป -หมวด 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย -หมวด 12 บทสุดท้าย -บทเฉพาะกาล ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของสภาผู้แทน พ.ศ. 2513 -หมวด 1 การเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทน -หมวด 2 อำนาจและหน้าที่ของประธานและรองประธานสภาผู้แทนและเลขาธิการรัฐสภา -หมวด 3 การประชุมสภา -หมวด 4 ญัตติ -หมวด 5 การอภิปราย -หมวด 6 การลงมติ -หมวด 7 กรรมาธิการ -หมวด 8 กระทู้ถาม -หมวด 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -หมวด 10 การเปิดอภิปรายทั่วไป -หมวด 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย -หมวด 12 บทสุดท้าย -บทเฉพาะกาล ปกหลัง2513รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รวมข้อบังคับการประชุมสภา สำนักงานเลขาธิการรัฐสภาสำนักงานเลขาธิการรัฐสภา (ศูนย์บริการทางวิชาการและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2519)ปกหน้า คำนำ สารบาญ 1 ข้อบังคับการประชุมและการปรึกษาของสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช 2476 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธาน (ข้อ 1-3) -หมวดที่ 2 เจ้าหน้าที่พนักงานแห่งสภาผู้แทนราษฎร (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 7-17) -หมวดที่ 4 การเสนอร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 18-27) -หมวดที่ 5 งบประมาณ (ข้อ 28-33) -หมวดที่ 6 การกล่าวอภิปรายสนับสนุนหรือคัดค้านญัตติ (ข้อ 34-47) -หมวดที่ 7 การลงมติ (ข้อ 48-57) -หมวดที่ 8 การประชุมลับ (ข้อ 58-59) -หมวดที่ 9 คณะกรรมาธิการ (ข้อ 60-64) -หมวดที่ 10 การตั้งกระทู้ถามและซักถามรัฐบาล (ข้อ 65-67) -หมวดที่ 11 ระเบียบความประพฤติในที่ประชุมและการรักษาความสงบภายในสภา (ข้อ 68-71) -หมวดที่ 12 การลงโทษ (ข้อ 72-74) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 50 หน้า 725 ลงวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) 2 ข้อบังคับการประชุมและปรึกษาของสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช 2477 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 1-3) -หมวดที่ 2 หน้าที่เจ้าพนักงานแห่งสภาผู้แทนราษฎร (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 7-20) -หมวดที่ 4 การเสนอและพิจารณาญัตติ (ข้อ 21-34) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 35-44) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 45-55) -หมวดที่ 7 การตั้งกระทู้และซักถามรัฐมนตรี (ข้อ 56-59) -หมวดที่ 8 คณะกรรมาธิการ (ข้อ 60-66) -หมวดที่ 9 งบประมาณ (ข้อ 67-71) -หมวดที่ 10 ระเบียบความประพฤติในที่ประชุมและการรักษาความสงบภายในสภา (ข้อ 72-75) -หมวดที่ 11 ความผิด (ข้อ 76-80) -หมวดที่ 12 เบ็ดเตล็ด (ข้อ 81-84) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2477) 3 ข้อบังคับการประชุมและการปรึกษาของสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช 2490 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธาน (ข้อ 3-5) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ประธาน (ข้อ 6-8) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 9-24) -หมวดที่ 4 การเสนอการพิจารณาและการแปรญัตติ (ข้อ 25-48) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 49-580 -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 59-64) -หมวดที่ 7 การตั้งกระทู้ถามและซักถามรัฐมนตรี (ข้อ 65-76) -หมวดที่ 8 คณะกรรมาธิการ (ข้อ 77-88) -หมวดที่ 9 งบประมาณแผ่นดิน (ข้อ 89-91) -หมวดที่ 10 ระเบียบความประพฤติและการรักษาความสงบเรียบร้อย (ข้อ 92-98) -หมวดที่ 11 ความผิด (ข้อ 99-102) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 103-105) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 64 ตอนที่ 31 วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) 4 ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของสภาผู้แทน พุทธศักราช 2494 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 3-8) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานสภาและเลขาธิการ (ข้อ 9-11) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 12-30) -หมวดที่ 4 ญัตติ (ข้อ 31-62) -หมวดที่ 5 งบประมาณแผ่นดิน (ข้อ 63-67) -หมวดที่ 6 การอภิปราย (ข้อ 68-78) -หมวดที่ 7 การลงมติ (ข้อ 79-89) -หมวดที่ 8 กรรมาธิการ (ข้อ 90-111) -หมวดที่ 9 กระทู้ถาม (ข้อ 112-125) -หมวดที่ 10 นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและการเปิดอภิปรายทั่วไป --ส่วนที่ 1 การแถลงนโยบาย (ข้อ 126-132) --ส่วนที่ 2 การขอให้ยืนยันความไว้วางใจ (ข้อ 133-134) --ส่วนที่ 3 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 130 (ข้อ 135-139) --ส่วนที่ 4 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 131 (ข้อ 140-145) -หมวดที่ 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 146-155) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 156-166) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอนที่ 35 ลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2494) 5 ข้อบังคับการประชุมและการปรึกษาของสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช 2495 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 3-8) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานสภาและเลขาธิการ (ข้อ 9-11) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 12-28) -หมวดที่ 4 ญัตติ (ข้อ 29-56) -หมวดที่ 5 งบประมาณแผ่นดิน (ข้อ 57-62) -หมวดที่ 6 การอภิปราย (ข้อ 63-73) -หมวดที่ 7 การลงมติ (ข้อ 37-83) -หมวดที่ 8 กรรมาธิการ (ข้อ 84-104) -หมวดที่ 9 กระทู้ถาม (ข้อ 105-118) -หมวดที่ 10 นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและการเปิดอภิปรายทั่วไป --ส่วนที่ 1 การแถลงนโยบาย (ข้อ 119-124) --ส่วนที่ 2 การขอให้ยืนยันความไว้วางใจ (ข้อ 125-126) --ส่วนที่ 3 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามรัฐธรรมนูญมาตรา 75 (ข้อ 127-131) --ส่วนที่ 4 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามรัฐธรรมนูญมาตรา 76 (ข้อ 132-137) -หมวดที่ 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 138-147) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 148-156) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 69 ตอนที่ 18 ลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2495) 6 ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2504 -หมวดที่ 1 บททั่วไป --ส่วนที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ข้อ 4-6) --ส่วนที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานและเลขาธิการสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ข้อ 7-9) --ส่วนที่ 3 การประชุม (ข้อ 10-28) --ส่วนที่ 4 ญัตติ (ข้อ 29-42) --ส่วนที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 43-52) --ส่วนที่ 6 การลงมติ (ข้อ 53-63) --ส่วนที่ 7 กรรมาธิการ (ข้อ 64-79) --ส่วนที่ 8 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 80-84) --ส่วนที่ 9 เบ็ดเตล็ด (ข้อ 85-87) -หมวดที่ 2 การทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ (ข้อ 88-116) -หมวดที่ 3 การทำหน้าที่นิติบัญญัติ --ส่วนที่ 1 การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ (ข้อ 117-119) --ส่วนที่ 2 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 120-138) -หมวดที่ 4 บทเฉพาะกาล (ข้อ 139-140) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 78 ตอนที่ 14 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2504) 7 ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของสภาผู้แทน พ.ศ. 2513 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทน (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานและเลขาธิการรัฐสภา (ข้อ 7-9) -หมวดที่ 3 การประชุมสภา (ข้อ 10-28) -หมวดที่ 4 ญัตติ (ข้อ 29-46) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 47-57) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 58-68) -หมวดที่ 7 กรรมาธิการ (ข้อ 69-87) -หมวดที่ 8 กระทู้ถาม (ข้อ 88-101) -หมวดที่ 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 102-127) -หมวดที่ 10 การเปิดอภิปรายทั่วไป (ข้อ 128-133) -หมวดที่ 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 134-136) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 137-143) -บทเฉพาะกาล (ข้อ 144) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 87 ตอนที่ 18 ลงวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2513) 8 ข้อบังคับการประชุมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธานสภา รองประธานและเลขาธิการรัฐสภา (ข้อ 7-9) -หมวดที่ 3 การประชุมสภา (ข้อ 10-29) -หมวดที่ 4 การเสนอญัตติ (ข้อ 30-43) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 44-54) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 55-65) -หมวดที่ 7 กระทู้ถาม (ข้อ 66-75) -หมวดที่ 8 กรรมาธิการ (ข้อ 76-91) -หมวดที่ 9 การพิจาณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 92-109) -หมวดที่ 10 การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ (ข้อ 110-118) -หมวดที่ 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 119-121) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 122-124) -บทเฉพาะกาล (ข้อ 125-126) 9 ข้อบังคับการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่รัฐสภา พ.ศ. 2517 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานสภาและเลขาธิการรัฐสภา (ข้อ 7-9) -หมวดที่ 3 การประชุมสภา (ข้อ 10-28) -หมวดที่ 4 การเสนอญัตติ (ข้อ 29-44) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 45-44) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 56-66) -หมวดที่ 7 กระทู้ถาม (ข้อ 67-78) -หมวดที่ 8 กรรมาธิการ (ข้อ 79-94) -หมวดที่ 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 95-113) -หมวดที่ 10 นโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน --ส่วนที่ 1 การแถลงนโยบาย (ข้อ 114-119) --ส่วนที่ 2 การขอให้ยืนยันความไว้วางใจ (ข้อ 120-121) --ส่วนที่ 3 การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา 158 ของรัฐธรรมนูญ (ข้อ 122-127) --ส่วนที่ 4 การเปิดอภิปรายทั่วไป ตามมาตรา 159 ของรัฐธรรมนูญ (ข้อ 128-132) -หมวดที่ 11 การเลือกตุลาการรัฐธรรมนูญและผู้ตรวจเงินแผ่นดินของรัฐสภา (ข้อ 133) -หมวดที่ 12 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 134-136) -หมวดที่ 13 บทสุดท้าย (ข้อ 137-142) -บทเฉพาะกาล (ข้อ 143) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 91 ตอนที่ 186 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2417) 10 ข้อบังคับการประชุมและการปรึกษาของพฤฒสภา พ.ศ. 2490 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานสภา (ข้อ 1-7) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธานสภา (ข้อ 8-10) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 11-26) -หมวดที่ 4 ญัตติและการแปรญัตติ (ข้อ 27-31) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 32-46) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 47-56) -หมวดที่ 7 การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี (ข้อ 57-65) -หมวดที่ 8 คณะกรรมาธิการ (ข้อ 66-72) -หมวดที่ 9 การพิจารณาร่างประราชบัญญัติ (ข้อ 73-87) -หมวดที่ 10 การเงินของพฤฒสภา (ข้อ 88-89) -หมวดที่ 11 การรักษามรรยาทและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 90-97) -หมวดที่ 12 การละเมิดข้อบังคับ (ข้อ 97-104) -หมวดที่ 13 เบ็ดเตล็ด (ข้อ 105-108) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 64 ตอนที่ 4 ลงวันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2490) 11 ข้อบังคับการประชุมและการปรึกษาของวุฒิสภา พ.ศ. 2491 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองปรานสภา (ข้อ 1-7) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานและเลขาธิการ (ข้อ 8-10) -หมวดที่ 3 การประชุม (ข้อ 11-27) -หมวดที่ 4 ญัตติและการแปรญัตติ (ข้อ 28-36) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 37-49) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 50-60) -หมวดที่ 7 การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี (ข้อ 61-69) -หมวดที่ 8 กรรมาธิการ (ข้อ 70-85) -หมวดที่ 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 86-103) -หมวดที่ 10 การรักษาระเบียบและข้อบังคับ (ข้อ 104-108) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 65 ตอนที่ 31 ลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2491) 12 ข้อบังคับการประชุมปรึกษาของวุฒิสภา พ.ศ. 2512 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองปรานวุฒิสภา (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธานและรองประธานวุฒิสภาและเลขาธิการรัฐสภา (ข้อ 7-9) -หมวดที่ 3 การประชุมสภา (ข้อ 10-28) -หมวดที่ 4 ญัตติ (ข้อ 29-44) -หมวดที่ 5 การอภิปราย (ข้อ 45-56) -หมวดที่ 6 การลงมติ (ข้อ 57-67) -หมวดที่ 7 กรรมาธิการ (ข้อ 68-86) -หมวดที่ 8 กระทู้ถาม (ข้อ 87-100) -หมวดที่ 9 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 101-122) -หมวดที่ 10 การแถลงนโยบายและการเปิดอภิปรายทั่วไป (ข้อ 123-132) -หมวดที่ 11 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 133-135) -หมวดที่ 12 บทสุดท้าย (ข้อ 136-141) -บทเฉพาะกาล (ข้อ 142-143) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 86 ตอนที่ 13 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 13 ข้อบังคับการประชุมของวุฒิสภา พ.ศ. 2518 -หมวดที่ 1 การเลือกประธานและรองประธานวุฒิสภา (ข้อ 4-6) -หมวดที่ 2 อำนาจและหน้าที่ของประธาน รองประธานและเลขาธิการรัฐสภา (ข้อ 8-9) -หมวดที่ 3 การประชุมสภา --ส่วนที่ 1 วิธีการประชุม (ข้อ 10-28) --ส่วนที่ 2 การเสนอญัตติ (ข้อ 29-44) --ส่วนที่ 3 การอภิปราย (ข้อ 45-54) --ส่วนที่ 4 การลงมติ (ข้อ 55-65) -หมวดที่ 4 กรรมาธิการ (ข้อ 66-82) -หมวดที่ 5 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (ข้อ 83-100) -หมวดที่ 6 กระทู้ถาม (ข้อ 101-114) -หมวดที่ 7 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย (ข้อ 115-117) -หมวดที่ 8 การรับเงินประจำตำแหน่งและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ข้อ 118-123) -หมวดที่ 9 บทสุดท้าย (ข้อ 124-128) -บทเฉพาะกาล (ข้อ 129) -(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 92 ตอนที่ 68 ลงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2518) ปกหลัง2519