1.09.02 รายงานคณะกรรมาธิการวุฒิสภา

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 1106
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการสามัญเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (แทนตำแหน่งที่ว่าง)
    คณะกรรมาธิการสามัญเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักกำกับและตรวจสอบ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-05-08)
    คณะกรรมาธิการสามัญเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนกลาโหม พ.ศ. .... ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 ข้อ 119 ของคณะกรรมาธิการการทหารและความมั่นคงของรัฐ วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการทหารและความมั่นคงของรัฐ วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03-24)
    ปก บทสรุปผู้บริหาร รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนกลาโหม พ.ศ. .... 1. การดำเนินงาน 2. วิธีพิจารณาศึกษา 3. ผลการพิจารณา ภาคผนวก สิ่งที่ส่งมาด้วย 1 คำสั่งกระทรวงกลาโหม ที่ 599/2567 เรื่อง อัตราเงินเดือนเป็นขั้นเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนกลาโหม สิ่งที่ส่งมาด้วย 2 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 สิ่งที่ส่งมาด้วย 2-1 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2567 สิ่งที่ส่งมาด้วย 3 กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 สิ่งที่ส่งมาด้วย 4 กฎ ก.พ.อ. การได้รับเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2556 สิ่งที่ส่งมาด้วย 5 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
    คณะกรรมาธิการการทหารและความมั่นคงของรัฐ วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนกลาโหม พ.ศ. .... ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน สิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน สิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-04-01)
    ปก รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนกลาโหม พ.ศ. .... ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 ข้อ 119 ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชนสิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา 1. การดำเนินการ 2. วิธีพิจารณาของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชนสิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา 3. ผลการพิจารณาศึกษา 4. ความเห็น ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะ
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน สิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ของคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03-17)
    ปก หนังสือนำ รายงานการพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ของคณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา 1. การดำเนินงาน 2. วิธีพิจารณาศึกษา 3. ผลการพิจารณาศึกษา 4. ความเห็น ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ
    คณะกรรมาธิการการบริหารราชการแผ่นดิน วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา (กลุ่มงานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจการพาณิชย์และอุตสาหกรรม สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03)
    ปกหน้า คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาแนวทางแก้ไขปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย หนังสือนำ คำนำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ของคณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา 1. การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ 2. วิธีการพิจารณาศึกษา 3. ผลการพิจารณาศึกษา บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.4 คำถามในการศึกษา 1.5 รูปแบบการศึกษา 1.6 ผลลัพธ์ที่คาดหวัง บทที่ 2 การพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) กับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 2.3 แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย บทที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ 3.1 ข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) 3.2 ข้อเสนอจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3.3 ข้อเสนอจากหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย บทที่ 4 ผลการสำรวจปัจจัยที่เป็นอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุสาหกรรมไทย 4.1 ผลการสำรวจประเภทอุตสาหกรรมที่ตอบแบบสำรวจ 4.2 ผลการสำรวจประเภทอุตสาหกรรมแยกตามขนาดของธุรกิจ 4.3 ผลการสำรวจอุตสาหกรรมแยกตามภูมิภาคที่ตั้งของอุตสาหกรรม 4.4 ผลการสำรวจปัญหาและอุปสรรคในการประกอบอุตสาหกรรม 4.5 การวิเคราะห์จากข้อมูลปัญหาและอุปสรรคจากผลสำรวจ 4.6 ผลการสำรวจแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในอุตสาหกรรมไทย 4.7 สรุปประเด็นข้อเสนอแนะในการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยจากข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 4.8 ข้อเสนอโดยกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 4.9 ข้อเสนอจากกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 4.10 ข้อเสนอจากกลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก 4.11 การสำรวจแนวโน้ม 47 กลุ่มอุตสาหกรรมและ 5 ภูมิภาค ปี 2568 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 บทสรุปการศึกษา บรรณานุกรม ภาคผนวก คำสั่งคณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา ที่ อ. 3/2567 เรื่อง ตั้งคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาแนวทางแก้ไขปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ปกหลัง
    คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง "พลังเครือข่ายความร่วมมือ : บทบาท หน้าที่และมาตรการเชิงรุก 5 ปี เพื่อหยุดวิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชนไทย" ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03-24)
    ปกหน้า รายนามคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมและกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา รายนามคณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และกลุ่มชาติพันธุ์ รายนามที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และกลุ่มชาติพันธุ์ รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง "พลังเครือข่ายความร่วมมือ : บทบาท หน้าที่ และมาตรการเชิงรุก 5 ปี เพื่อหยุดวิกฤตบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชนไทย" ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา 1. การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ 2. วิธีการพิจารณาศึกษา 3. ผลการพิจารณาศึกษา บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาของการพิจารณาศึกษา 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.3 ขอบเขตการพิจารณา 1.4 วิธีพิจารณาศึกษา 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลกกับการควบคุมบุหรี่ไฟฟ้า 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก 2.3 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 2.4 วิธีการแทรกแซงของอุตสาหกรรมยาสูบ 2.5 ความหมายของ "บุหรี่ไฟฟ้า" 2.6 กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้บุหรี่ไฟฟ้า 2.7 ห่วงโซ่การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชน (Value Chain) 2.8 โมเดลปัจจัยห้าประการ (The Five Factor Model) 2.9 กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า (Behavior Journey) 2.10 ต้นแบบพฤติกรรมของผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า (User Persona) บทที่ 3 วิธีการพิจารณาศึกษา 3.1 ศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ 3.2 ศึกษาจากข้อมูลปฐมภูมิ 3.2.1 การลงพื้นที่เดินทางศึกษาดูงาน 3.2.2 รับฟังข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.2.3 การจัดโครงการเสวนาโต๊ะกลม เรื่อง "มาตรการเชิงรุกเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชน" บทที่ 4 ผลการพิจารณาศึกษา ส่วนที่ 1 ภารกิจและบทบาทหน้าที่ขององค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดการปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชน ส่วนที่ 2 ทัศนคติและมุมมอง รวมทั้งระดับความร่วมมือขององค์กรต่าง ๆ ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาบุหรี่ไฟฟ้า ส่วนที่ 3 พลังความร่วมมือและแนวทางบูรณาการในการจัดการปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชน ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ (Effectiveness Analysis) ช่องว่าง (Gap Analysis) และปัจจัยความสำเร็จของมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาบุหรี่ไฟฟ้า ส่วนที่ 5 เปรียบเทียบรูปแบบความร่วมมือจากหน่วยงานที่เข้าร่วมเวทีการเสวนากับการศึกษาดูงานที่โรงเรียนมัธยมวัดหนองจอก ส่วนที่ 6 อุปสรรค (Barrier Analysis) ที่ทำให้ความร่วมมือในการป้องกันแก้ไขปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าไม่ประสบความสำเร็จ บทที่ 5 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการบูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ 2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการการดำเนินการเชิงรุกทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวเป้าหมายหลักสำคัญของมาตรการเชิงรุก 3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายนามคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา รายนามที่ปรึกษา ผู้ชำนาญการ นักวิชาการและเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการ รายนามที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ ภาคผนวก ข ประมวลภาพกิจกรรมของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชนสตรี ผู้สูงอายุคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภาโดย คณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องศึกษากรณี บุหรี่ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ภาคผนวก ค เอกสารอ้างอิงข้อมูลนำเสนอของผู้เข้าร่วมเสวนา 1. "บุหรี่ไฟฟ้า มหันตภัยต่อเด็กและเยาวชนไทย" โดย ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ, มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 2. "อนาคตไทย ห่างไกล ยาเสพติดและบุหรี่ไฟฟ้า"โดย นายแพทย์ชยนันทน์ สิทธิบุศย์, ผู้อำนวยการกองงานคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 3. "นโยบายบุหรี่ไฟฟ้าประเทศไทย" โดย ศ.พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์, ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ปกหลัง
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง บัตรประจำตัวคนพิการ ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03-24)
    ปกหน้า หนังสือนำ รายนามคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมและกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา รายนามคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง "บัตรประจำตัวคนพิการ” ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา 1. การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ 2. วิธีการพิจารณาศึกษา 3. ผลการพิจารณาศึกษา บทสรุปผู้บริหาร รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง "บัตรประจำตัวคนพิการ” สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาของการพิจารณาศึกษา 1.2 วัตถุประสงค์ของการพิจารณาศึกษา 1.3 ขอบเขตของการพิจารณาศึกษา 1.4 วิธีการพิจารณาศึกษา 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด นโยบาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.1 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of the Persons with Disabilities : CRPD) 2.2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 2.3 ยุทธศาสตร์ชาติ 2.4 แผนปฏิรูปประเทศด้านสังคม (ฉบับปรับปรุง) : กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 : การปฏิรูปการขึ้นทะเบียนคนพิการเพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิสวัสดิการและความช่วยเหลือได้อย่างครอบคลุมและทั่วถึง บทที่ 2 แนวคิด นโยบาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.1 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of the Persons with Disabilities : CRPD) 2.2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) 2.3 ยุทธศาสตร์ชาติ 2.4 แผนปฏิรูปประเทศด้านสังคม (ฉบับปรับปรุง) : กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 : การปฏิรูปการขึ้นทะเบียนคนพิการเพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิสวัสดิการและความช่วยเหลือได้อย่างครอบคลุมและทั่วถึง 2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.5.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2.5.2 พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 2.5.3 พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 2.5.4 พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 2.5.5 พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565 2.5.6 พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 2.6 สถานการณ์คนพิการในประเทศไทย 2.6.1 การสำรวจคนพิการขององค์การอนามัยโลก 2.6.2 การสำรวจความพิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 2.6.3 คนพิการที่ได้รับการออกบัตรประจำตัวคนพิการ บทที่ 3 ผลการพิจารณาศึกษา 3.1 พิจารณาศึกษาสถานการณ์คนพิการ 3.2 พิจารณาศึกษาการกำหนดนิยาม "คนพิการ” ประเภทของความพิการ ฐานข้อมูลคนพิการและบัตรประจำตัวคนพิการ โดยเชิญผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม 3.2.1 การประชุมคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ครั้งที่ 3/2567 วันอังคารที่ 3 ธันวาคม 2567 3.2.2 การประชุมคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ครั้งที่ 4/2567 วันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2567 3.2.3 การประชุมคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ครั้งที่ 1/2568 วันพุธที่ 8 มกราคม 2568 3.2.4 การประชุมคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ครั้งที่ 3/2568 วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 3.2.5 การประชุมคณะอนุกรรมาธิการกิจการผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ครั้งที่ 4/2568 วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 3.3 การประสานขอข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.3.1 การดำเนินงานด้านการศึกษาของคนพิการ 3.3.2 รายชื่อโรงพยาบาลที่ให้บริการคนพิการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) 3.4 การเสวนาระดมความคิดเห็น เรื่อง "บัตรคนพิการในยุคดิจิทัล” บทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 4.1 บทสรุป 4.1.1 การกำหนดนิยาม "คนพิการ” และการประเมินและรับรองความพิการ 4.1.2 ฐานข้อมูลคนพิการในประเทศไทย 4.1.3 บัตรประจำตัวคนพิการ 4.1.4 การศึกษาของคนพิการ 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 ด้านการกำหนดนิยาม "คนพิการ” และการประเมินและรับรองความพิการ 4.2.2 ด้านฐานข้อมูลคนพิการ 4.2.3 ด้านบัตรประจำตัวคนพิการ 4.2.4 ด้านการศึกษาของคนพิการ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายนามคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา รายนามที่ปรึกษา ผู้ชำนาญการ นักวิชาการและเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการ รายนามที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการฯ รายชื่อฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส แลความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา ภาคผนวก ข ภาพการจัดเสวนาระดมความคิดเห็น เรื่อง "บัตรคนพิการในยุคดิจิทัล" ปกหลัง
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอแนะระบบทางสังคมสำหรับสตรี เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป้าหมายที่ 5 : การส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิงทุกคน (Achieve gender equality and empower all women and girls) ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-03-19)
    คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และความหลากหลายทางสังคม วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568-04-02)
    ปก รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. ....วุฒิสภา 1. ที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติเลือกตำแหน่งต่าง ๆ จากกรรมาธิการวิสามัญ 2. ที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการฯ 3. ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มอบหมายให้มาชี้แจงแสดงความคิดเห็น 4. ผู้ซึ่งกรรมาธิการได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น 5. ร่างพระราชบัญญัตินี้มีกรรมาธิการวิสามัญสงวนความเห็น จำนวน 5 คน 6. ร่างพระราชบัญญัตินี้มีสมาชิกวุฒิสภาเสนอคำแปรญัตติ จำนวน 10 คน 7. ผลการพิจารณา 8. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญ 9. คณะกรรมาธิการวิสามัญได้เสนอร่างพระราชบัญญัติตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมฯ บันทึกหลักการและเหตุผลฯ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... ภาคผนวก ตารางเปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. ....ในชั้นการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... วุฒิสภา สรุปผลการดำเนินงาน
    คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. .... วุฒิสภา
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การเสริมสร้างความเชื่อมั่นในตลาดทุนไทยผ่านการเสนอร่างพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง วุฒิสภา
    คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง วุฒิสภา (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2568)
    คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง วุฒิสภา