2.01.05 ผลงานสภาปฏิรูปแห่งชาติ

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 18
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการประชุมความเป็นหุ้นส่วนของรัฐสภาเอเชียและยุโรป (ASEP) ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 21-22 เมษายน 2559 ณ กรุงอูลานบาตอร์ ประเทศมองโกเลีย
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ (สำนักองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2559)
    ปกหน้า รายงานประชุมความเป็นหุ้นส่วนของรัฐสภาเอเชียและยุโรป ครั้งที่ 9 (The 9th Asia-Europe Parliamentary Partnership Meeting-ASEP) ระหว่างวันที่ 21-22 เมษายน 2559 ณ กรุงอูลานบาตอร์ ประเทศมองโกเลีย พิธีเปิดการประชุม สาระสำคัญของการประชุม -1. การประชุมเต็มคณะวาระที่ 1 -2. การประชุมกลุ่มย่อยกลุ่มที่ 1 -3. การประชุมกลุ่มย่อยกลุ่มที่ 2 -4. การประชุมเต็มคณะวาระที่ 2 บทบาทของคณะผู้แทนสภานิติบัญญัติแห่งชาติ -การประชุมกลุ่มย่อยกลุ่มที่ 1 ด้านเศรษฐกิจ -การประชุมกลุ่มย่อยกลุ่มที่ 2 ด้านสังคมและวัฒนธรรม -การหารือทวิภาคีระหว่างคณะผู้แทนสภานิติบัญญัติและรองประธานรัฐสภามองโกเลีย -ภารกิจอื่น ๆ ภาคผนวก -ภาคผนวก ก กำหนดการประชุม ASEP ครั้งที่ 9 -ภาคผนวก ข ระเบียบวาระการประชุม ASEP ครั้งที่ 9 -ภาคผนวก ค รายนามผู้เข้าร่วมการประชุม ASEP ครั้งที่ 9 -ภาคผนวก ง ปฏิญญาการประชุม ASEP ครั้งที่ 9 -ภาคผนวก จ ถ้อยแถลงของคณะผู้แทนสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการประชุม ASEP ครั้งที่ 9 ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    บทบาทและผลงานการขับเคลื่อนการปฏิรูประเทศของร้อยเอก ทินพันธุ์ นาคะตะ ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานประธานสภาผู้แทนราษฎร กลุ่มงานประธานสภาผู้แทนราษฎร (สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2561-11)
    ปกหน้า สารบัญ บทนำ บทบาทและผลงานของ ร้อยเอก ทินพันธุ์ นาคะตะ ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ -การประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ -บทบาทการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศในรูปแบบของคณะกรรมาธิการ -บทบาทของประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.) -การสร้างความมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิรูปประเทศ -บทบาทด้านต่างประเทศ -งานด้านพระราชพิธี งานพิธี และอื่น ๆ ภาคผนวก -ภาคผนวก ก -ภาคผนวก ข -ภาคผนวก ค -ภาคผนวก ง ปกหลัง
    2561-11
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการสังเคราะห์ประเด็นปฏิรูปและนำเสนอคู่มือการใช้โปรแกรมรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนในการใช้ระบบฐานข้อมูลความคิดเห็นประชาชนเพื่อการปฏิรูป
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความเห็นของประชาชน คณะอนุกรรมาธิการสังเคราะห์ประเด็นปฏิรูป (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบิติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2558-07-01)
    ปกหน้า คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง -รายชื่อคณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูป -รายชื่อคณะอนุกรรมาธิการสังเคราะห์ประเด็นการปฏิรูป -สรุปการนำข้อมูลความคิดเห็นเข้าสู่ระบบ -ตารางที่ 1 จำนวนเวทีความคิดเห็นผู้ให้ความคิดเห็นและความคิดเห็น -สถานะการจัดเวทีการมีส่วนร่วมเชิงพื้นที่เพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน -ตารางที่ 2 สถานะการจัดเวทีการมีส่วนร่วมเชิงพื้นที่เพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน (เรียงตามจำนวนความถี่ของการจัดเวทีในแต่ละจังหวัด จากมากไปน้อย) -สถิติจำนวนผู้ให้ความคิดเห็น -ตารางที่ 3 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามช่องทางรับฟังความคิดเห็น (เรียงจากมากไปน้อย) -ตารางที่ 4 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามเพศ (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 5 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามสภาพการสมรส (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 6 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามอายุ (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 7 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามรายได้ (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 8 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามการศึกษาสูงสุด (เฉพาะวิทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 9 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามศาสนา (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 10 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามการสังกัดองค์กร (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -ตารางที่ 11 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามอาชีพ 10 อันดับแรก (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) -สถิติจำนวนความคิดเห็น -ตารางที่ 12 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามประเด็นการปฏิรูป (เฉพาะเวทีรังฟังความคิดเห็น) (เรียงตามรหัสหมายเลขประเด็นฯ) -ตารางที่ 13 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามประเด็นการปฏิรูป (เฉพาะเวทีรับฟังความคิดเห็น) (เรียงจากความถี่จากมากไปหาน้อย) -ตารางที่ 14 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามประเด็นการปฏิรูป (เฉพาะศูนย์รับฟังความคิดเห็นสภาปฏิรูปแห่งชาติ) (เรียงตามรหัสหมายเลขประเด็นฯ) -ตารางที่ 15 จำนวนผู้ให้ความคิดเห็นจำแนกตามประเด็นการปฏิรูป (เฉพาะศูนย์รังฟังความคิดเห็นสภาปฏิรูปแห่งชาติ) (เรียงตามความถี่จากมากไปหาน้อย) -สรุปบทสังเคราะห์จากเวทีการปฏิรูปฯ ความคิดเห็นที่มาจากการสรุปความคิดเห็นองค์รวมจากเวทีการปฏิรูปฯ (แบบฟอร์มชุด B) --กรอบที่ 1 ประเด็นการปฏิรูปด้านการเมือง --กรอบที่ 2 ประเด็นการปฏิรูปการกีฬา --กรอบที่ 3 ประเด็นการปฏิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม จริยธรรมและการศาสนา --กรอบที่ 4 ประเด็นการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา --กรอบที่ 5 ประเด็นการปฏิรูปการแรงงาน --กรอบที่ 6 ประเด็นการปฏิรูปการคุ้มครองผู้บริโภค --กรอบที่ 7 ประเด็นการปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ --กรอบที่ 8 ประเด็นการปฏิรูปการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ --กรอบที่ 9 ประเด็นการปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง --กรอบที่ 10 ประเด็นการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น --กรอบที่ 11 ประเด็นการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน --กรอบที่ 12 ประเด็นการปฏิรูปพลังงาน --กรอบที่ 13 ประเด็นการปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ การท่องเที่ยวและการบริการ --กรอบที่ 14 ประเด็นการปฏิรูประบบสาธารณสุข --กรอบที่ 15 ประเด็นการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม --กรอบที่ 16 ประเด็นการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ --กรอบที่ 17 ประเด็นการปฏิรูปสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส --กรอบที่ 18 ประเด็นการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม --กรอบที่ 19 ประเด็นอนาคตประเทศไทย -สรุปบทสังเคราะห์จากเวทีการปฏิรูปฯ ความคิดเห็นรายบุคคล (แบบฟอร์มชุด C) --กรอบที่ 1 การปฏิรูปด้านการเมือง --กรอบที่ 2 ประเด็นการปฏิรูปการกีฬา --กรอบที่ 3 ประเด็นการปฏิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม จริยธรรมและการศาสนา --กรอบที่ 4 ประเด็นการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา --กรอบที่ 5 ประเด็นการปฏิรูปการแรงงาน --กรอบที่ 6 ประเด็นการปฏิรูปการคุ้มครองผู้บริโภค --กรอบที่ 7 ประเด็นการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ --กรอบที่ 8 ประเด็นการปฏิรูปการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ --กรอบที่ 9 ประเด็นการปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง --กรอบที่ 10 ประเด็นการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น --กรอบที่ 11 ประเด็นการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน --กรอบที่ 12 ประเด็นการปฏิรูปพลังงาน --กรอบที่ 13 ประเด็นการปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ การท่องเที่ยวและการบริการ --กรอบที่ 14 ประเด็นการปฏิรูประบบสาธารณสุข --กรอบที่ 15 ประเด็นการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม --กรอบที่ 16 ประเด็นการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ --กรอบที่ 17 ประเด็นการปฏิรูปสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส --กรอบที่ 18 ประเด็นการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม -ภาคผนวก 1 รายละเอียดสถานะการจัดเวทีการมีส่วนร่วมเชิงพื้นที่ -ตารางที่ 16 รายละเอียดสถานะการจัดเวทีการมีส่วนร่วมเชิงพื้นที่ -ตารางที่ 17 รายละเอียดจำนวนสรุปความคิดเห็นและผู้เข้าร่วมแยกตามเวทีจากเก่าสุดสู่ล่าสุด -ภาคผนวก 2 ตัวอย่างข้อมูลความคิดเห็นจากรายการความคิดเห็นสรุปความคิดเห็นองค์รวมจากเวทีการปฏิรูปฯ (แบบฟอร์มชุด B) และ รายการความคิดเห็นรายบุคคลจากเวทีการปฏิรูปฯ (แบบฟอร์มชุด C) -ภาคผนวก 3 (ร่าง) กรอบประเด็นการปฏิรูปประเทศไทย -ภาคผนวก 4 รายชื่อคณะอนุกรรมาธิการสังเคราะห์ประเด็นการปฏิรูปฯ ผู้รับผิดชอบตรวจสอบข้อมูลในแต่ละประเด็น ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ
    คณะกรรมการสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2558-08)
    ปกหน้า ปกหลัง -ภาคผนวก ฉ รายชื่อคณะกรรมการสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ -ภาคผนวก จ ข้อเสนอการแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ -ภาคผนวก ง เอกสารนำเสนอบทสังเคราะห์การปฏิรูปประเทศสู่อนาคต 2575 -ภาคผนวก ค ตารางการวิเคราะห์ข้อเสนอการปฏิรูปจำแนกตามด้านการปฏิรูป 11 ด้าน -ภาคผนวก ข ตารางการวิเคราะห์ข้อเสนอการปฏิรูปจำแนกตามกลุ่มวาระการปฏิรูป 8 กลุ่ม -ภาคผวก ก วาระการปฏิรูปและวาระการพัฒนา ภาคผนวก 7. ข้อเสนอการแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และโครงสร้างระบบที่สำคัญ 6. กลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป 5. แผนและขั้นตอนการปฏิรูป 4. เป้าหมาย และความเชื่อมโยงของข้อเสนอการปฏิรูปทั้งหมด 3. กรอบการวิเคราะห์ข้อเสนอการปฏิรูปทั้งหมด และผลการวิเคราะห์ 2. วิธีการพิจารณาสังเคราะห์ 1. หลักการและเหตุผล รายงานคณะกรรมการสังเคราะห์ภาพรวมเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คำนำ สารบัญ
    2558-08
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    เทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ พุทธศักราช 2550 กับร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปฏิรูป (ปี 58)
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กลุ่มงานประธานรัฐสภา (กลุ่มงานประธานรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558)
    -หมวด 5 การคลังและการงบประมาณ (มาตรา 199 - 205) -หมวด 4 คณะรัฐมนตรี (มาตรา 171 - 198) --ส่วนที่ 8 การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน (มาตรา 165 - 170) --ส่วนที่ 7 การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ (มาตรา 163 - 164) --ส่วนที่ 6 การตราพระราชบัญญัติและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (มาตรา 147 - 162) --ส่วนที่ 5 การประชุมร่วมกันของรัฐสภา (มาตรา 145 - 146) --ส่วนที่ 4 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง (มาตรา 131 - 144) --ส่วนที่ 3 วุฒิสภา (มาตรา 121 - 130) --ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 103 - 120) --ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 96 - 102) -หมวด 3 รัฐสภา -หมวด 2 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (มาตรา 78 - 95) -หมวด 1 ผู้นำการเมืองที่ดีและระบบผู้แทนที่ดี (มาตรา 73 - 77) ภาค 2 ผู้นำการเมืองที่ดีและสถาบันการเมือง --ส่วนที่ 4 การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ (มาตรา 69 - 72) --ส่วนที่ 3 การมีส่วนร่วมทางการเมือง (มาตรา 65 - 68) ---ตอนที่ 3 สิทธิพลเมือง (มาตรา 46 - 64) ---ตอนที่ 2 สิทธิมนุษยชน (มาตรา 34 - 45) ---ตอนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 29 - 33) --ส่วนที่ 2 สิทธิและเสรีภาพของบุคคล --ส่วนที่ 1 ความเป็นพลเมืองและหน้าที่ของพลเมือง (มาตรา 26 - 28) -หมวด 2 ประชาชน -หมวด 1 พระมหากษัตริย์ (มาตรา 8 - 25) ภาค 1 พระมหากษัตริย์และประชาชน บททั่วไป (มาตรา 1 - 7) สารบัญ รายนามคณะผู้จัดทำ ปกหน้า ปกหลัง บทเฉพาะกาล (มาตรา 304 - 315) -การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา 299 - 303) บทสุดท้าย -หมวด 3 การสร้างความปรองดอง (มาตรา 297 - 298) --ส่วนที่ 2 การปฏิรูปด้านต่าง ๆ (มาตรา 281 -296) --ส่วนที่ 1 สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศและคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปแห่งชาติ (มาตรา 279 - 280) -หมวด 2 การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม -หมวด 1 บททั่วไป (มาตรา 277 - 278) ภาค 4 การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง ---ตอนที่ 4 ผู้ตรวจการแผ่นดินและพิทักษ์สิทธิมนุษยชน (มาตรา 275 - 276) ---ตอนที่ 3 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (มาตรา 271 - 274) ---ตอนที่ 2 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (มาตรา 270) ---ตอนที่ 1 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา 259 - 269) --ส่วนที่ 5 องค์กรตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ --ส่วนที่ 4 การดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (มาตรา 256 - 258) --ส่วนที่ 3 การถอดถอนจากตำแหน่งและการตัดสิทธิทางการเมืองหรือสิทธิในการดำรงตำแหน่งอื่น (มาตรา 253 - 255) --ส่วนที่ 2 การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ (มาตรา 248 - 252) --ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 246 - 247) -หมวด 2 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ --ส่วนที่ 5 ศาลทหาร (มาตรา 245) --ส่วนที่ 4 ศาลปกครอง (มาตรา 242 - 244) --ส่วนที่ 3 ศาลยุติธรรม (มาตรา 238 - 241) --ส่วนที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 229 - 237) --ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 217 - 228) -หมวด 1 ศาลและกระบวนการยุติธรรม ภาค 3 นิติธรรม ศาล และองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ -หมวด 7 การกระจายอำนาจและการบริหารท้องถิ่น (มาตรา 211 - 216) -หมวด 6 ความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการ นักการเมือง และประชาชน (มาตรา 206 - 210)
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สาระสังเขป ประเด็นการปฏิรูปประเทศไทย ด้านนโยบายประชานิยมที่จะส่งผลต่อหนี้สาธารณะและการเพิ่มบทบัญญัติ ต่อความรับผิดชอบในโครงการประชานิยม
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ (สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558)
    ปกหน้า ปกหลัง บรรณานุกรม -2. ข้อเสนอแนะ -1. บทสรุป บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ --2.3 ประเทศญี่ปุ่น --2.2 ประเทศออสเตรเลีย --2.1 ประเทศอังกฤษ -2. ข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับการเงินการคลังในต่างประเทศ -1. แนวทางในการเพิ่มบทบัญญัติข้อกฎหมาย บทที่ 4 การเพิ่มบทบัญญัติข้อกฎหมาย -6. กรณีศึกษา : วิกฤติหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศยูโร -5. กรณีศึกษา : วิกฤติหนี้สาธารณะในลาตินอเมริกา -4. ข้อมูลแนวโน้มหนี้สาธารณะคงค้างที่เกิดจากนโยบายประชานิยม -3. การใช้งบประมาณในการดำเนินโครงการประชานิยมของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร -2. นโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี -1. นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก บทที่ 3 การดำเนินงานโครงการประชานิยมในรัฐบาลที่ผ่านมา -4. ข้อวิพากษ์ที่มีแนวคิดต่อประชานิยม -3. กำเนิดนโยบายแบบประชานิยมในประเทศไทย -2. ประชานิยมในลาตินอเมริกา -1. แนวความคิดของประชานิยม บทที่ 2 แนวความคิดและทฤษฎี -2. สภาพปัญหา -1. ความเป็นมา บทที่ 1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร คำนำ
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านการเมือง
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2557)
    ปกหน้า ปกใน คำนำ บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 1 : การปฏิรูปการเมืองกรณีการคัดเลือกบุคคลดำรงตำแหน่งทางการเมืองกรณีการถ่วงดุลอำนาจการบริหารและกรณีการถอดถอนออกจากตำแหน่ง[ภิญญา สันติพลวุฒิ] - 1. การปฏิรูปด้านการเมือง - - 1.1 ความหมาย และวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปการเมือง - - 1.2 สาระสำคัญของการปฏิรูปการเมือง - - 1.3 ความเป็นมาและสภาพปัญหา - - 1.4 แนวคิดทฤษฎี - - - 1) แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม - - - 2) แนวคิดทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ - - - 3) แนวคิดการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและข้าราชการระดับสูง - 2. การคัดเลือกบุคคลดำรงตำแหน่งทางการเมือง - - 2.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา - - 2.2 แนวคิดทฤษฎี - - 2.3 จริยธรรมของผู้ปกครองหรือนักการเมือง - - 2.4 แนวทางการแก้ไข - - 2.5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ - 3. การถ่วงดุลอำนาจการบริหาร - - 3.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา - - 3.2 แนวคิดทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ - - 3.3 วิเคราะห์การถ่วงดุลอำนาจการบริหาร - - 3.4 บทสรุป - - 3.5 ข้อเสนอแนะ - 4. การถอดถอนออกจากตำแหน่ง - - 4.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา - - 4.2 แนวคิดทฤษฎี - - 4.3 ความคิดเห็นของนักวิชาการและบุคคลที่เกี่ยวข้อง - - 4.4 วิเคราะห์และแนวทางแก้ไข - - 4.5 บทสรุป - - 4.6 ข้อเสนอแนะ - 5. บทสรุปและข้อเสนอแนะ - บรรณานุกรม สารบัญ ส่วนที่ 2 : ปฏิรูปการเมืองกรณีศึกษาพรรคการเมือง[มานะ ทองไพบูรณ์] - 1. ความเป็นมาและสภาพปัญหา - 2. บทบาทสำคัญของพรรคการเมืองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา - 3. สาระสำคัญ หลักการ และแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายพรรคการเมืองโดยสังเขป - - 3.1 การจัดตั้งพรรคการเมือง - - 3.2 การดำเนินกิจการของพรรคการเมือง - - 3.3 การสนับสนุนพรรคการเมือง - - 3.4 การควบรวมพรรคการเมือง - - 3.5 การสิ้นสภาพของพรรคการเมือง - - 3.6 การเลิกพรรคการเมือง - - 3.7 การยุบพรรคการเมือง - - 3.8 คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรณีปัญหาการสังกัดพรรคการเมืองและการมีเงื่อนไขกำหนดระยะเวลาการสังกัดพรรคการเมืองก่อนมีการเลือกตั้ง - - 3.9 สรุปและวิเคราะห์ปัญหาสำคัญ - - 3.10 บทสรุปและแนวทางการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมือง - บรรณานุกรม - ภาคผนวก กเปรียบเทียบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 กับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 - ภาคผนวก ข เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เฉพาะบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมือง ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านสื่อสารมวลชน
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2557)
    คำนำ ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สารบัญ บทนำ ความเป็นมา ความสำคัญ และสภาพปัญหา บทที่ 1 การปฏิรูปสื่อสิ่งพิมพ์ - หลักการเกี่ยวกับเสรีภาพและการควบคุมสื่อสิ่งพิมพ์ - - หลักการเกี่ยวกับเสรีภาพของสื่อสิ่งพิมพ์ - - หลักการเกี่ยวกับการจำกัดเสรีภาพและควบคุมสื่อสิ่งพิมพ์ - สภาพปัญหาเกี่ยวกับเสรีภาพและการควบคุมสื่อสิ่งพิมพ์ - - ปัญหาการควบคุมสื่อสิ่งพิมพ์โดยกฎหมายการพิมพ์ - - ปัญหากฎหมายอื่น ๆ ที่ควบคุมและจำกัดเสรีภาพของสื่อสิ่งพิมพ์ - - ปัญหาการแทรกแซงเสรีภาพสื่อสิ่งพิมพ์โดยวิธีการนอกกฎหมาย - ความรับผิดชอบและจริยธรรมของสื่อสิ่งพิมพ์ - งานวิจัยและความเห็นของนักวิชาการเกี่ยวกับการปฏิรูปสื่อสิ่งพิมพ์ - ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป บทที่ 2 การปฏิรูปสื่อวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ - บทบาทและหน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในฐานะสื่อมวลชน - หน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในฐานะสื่อมวลชน - - หน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในการให้ข่าวสาร - - หน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในการแสดงความคิดเห็น - - หน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในการให้ความรู้และการศึกษา - - หน้าที่ของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในการให้ความบันเทิง - การปฏิรูปสื่อกับการก่อกำเนิด กสทช. - สภาพปัญหาและข้อเสนอปรับปรุงกฎหมาย - ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปวิทยุชุมชน บทที่ 3 การปฏิรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ - ประเด็นปัญหาและข้อเท็จจริง - - ปัญหาทั่วไปที่พบในการใช้อินเทอร์เน็ตในสังคมไทย - - ปัญหาเกี่ยวกับการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 - ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป บทที่ 4 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะการปฏิรูปสื่อสารมวลชน บรรณานุกรม ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2557)
    ปกหน้า คำนำ บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 การปฏิรูปสาธารณสุข - ความเป็นมา - สภาพปัญหา - - ปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างกองทุนประกันสังคม กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านสุขภาพและการจ้างงานที่เป็นธรรม - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาด้านระบบบริการสุขภาพและการอภิบาลระบบสุขภาพ - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการจัดการกับภัยคุกคามสุขภาพ - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป บทที่ 3 การปฏิรูปสิ่งแวดล้อม - ความเป็นมา - สภาพปัญหา - - ปัญหาป่าไม้ - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป - - ปัญหาขยะและน้ำเสีย - - - สภาพปัญหา/สถานการณ์ปัจจุบัน - - - แนวทางแก้ไขปัญหา - - - ข้อเสนอแนะในการปฏิรูป บทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านการพลังงาน
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ, 2557)
    ปกหน้า ปกใน คำนำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร 1. บทนำ - สภาพปัญหาและความสำคัญ 2. นโยบายพลังงานและสถานการณ์พลังงานไทย - นโยบายพลังงานไทย - สถานการณ์พลังงานไทย 3. สภาพปัญหาและประเด็นสำคัญด้านพลังงาน - ด้านการจัดการทรัพยากรพลังงาน - ด้านการแข่งขันและธรรมาภิบาลในธุรกิจพลังงาน - ด้านโครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง - ด้านพลังงานทดแทน 4. ข้อเสนอการปฏิรูปพลังงาน 5. ความเห็นเกี่ยวกับกฎหมายด้านพลังงาน 6. สรุปและข้อเสนอแนะ 7. บรรณานุกรม ปกหลัง
    สภาปฏิรูปแห่งชาติ