รายงาน/ผลงานกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร ชุดอื่น ๆ

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 92
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง "สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ต้องขัง"
    คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร, 2537)
    ปกหน้า โครงการสัมมนา สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ต้องขัง -หลักการและเหตุผล -วัตถุประสงค์ -ผู้เข้าร่วมสัมมนา -วิทยากร -หัวข้อการสัมมนา -วิธีการสัมมนา -ระยะเวลาการสัมมนา -สถานที่ -ผู้รับผิดชอบโครงการ -ผลที่คาดว่าจะได้รับ กำหนดการสัมมนา สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ต้องขัง สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ต้องขัง -ความหมายของผู้ต้องขัง --ผู้ต้องขัง --นักโทษเด็ดขาด --คนต้องขัง --คนฝาก --นักโทษพิเศษ ประเภทผู้ต้องขัง -นักโทษการเมือง -ผู้ต้องขังคดียาเสพติดให้โทษ -ผู้ต้องขังกระทำผิดวิปริตทางเพศ -ผู้ต้องขังวิกลจริต และจิตผิดปกติ -ผู้ต้องขังหญิง -ผู้ต้องขังวัยหนุ่ม -ผู้ต้องขังระหว่างการสอบสวนหรือระหว่างการพิจารณาคดี -ผู้ต้องกักขัง -ผู้ถูกกักกัน -ผู้ต้องขังต่างชาติ การศึกษา/การเรียน ข้อบังคับกรมราชทัณฑ์ ฉบับที่ ๘ -เรื่อง การศึกษาและอบรมผู้ต้องขัง --พุทธิศึกษา --จริยศึกษา --พลศึกษา --เบ็ดเตล็ด การทำงาน/การฝึกอบรม การรับการรักษาพยาบาล ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ฉบับที่ ๖ -เรื่อง การอนุญาตให้ผู้ต้องขังออกไปรักษาตัวนอกเรือนจำ การร้องทุกข์ของผู้ต้องขัง การปรึกษากับทนายความ ข้อบังคับอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ฉบับที่ ๑ -เรื่อง การเยี่ยมเยียนและติดต่อของบุคคลภายนอกต่อผู้ต้องขัง บทนำ -โทษอาญา -ประหารชีวิต -จำคุก -กักขัง -การกักกัน บทที่ ๓ เรือนจำ ทัณฑสถาน และทัณฑนิคม -ประเภทของเรือนจำ --เรือนจำกลาง --เรือนจำพิเศษ บทที่ ๔ อำนาจและหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจำ บทที่ ๙ การอนามัยและสุขาภิบาล -การอนามัยของผู้ต้องขัง -การสุขาภิบาลเรือนจำ -การรักษาพยาบาลผู้ต้องขังป่วย วิธีการควบคุมตัวและขังผู้ต้องหา[อดุลย์ อุดมผล] -การคุมขังโดยอำนาจศาล -การโอนการขัง -การคุมขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย เรียนรู้งานราชทัณฑ์[สุพจน์ กีรติยุต] -การรับตัวผู้ต้องขังเข้าใหม่ -ขณะถูกคุมขังระหว่างสอบสวน -การให้เยี่ยมเยียนและติดต่อครอบครัวหรือญาติมิตรของผู้ต้องขัง -สิ่งของต่อไปนี้มิให้นำเข้ามาหรือเก็บรักษาไว้ในเรือนจำ -ความผิดเกี่ยวกับเรือนจำที่ควรจดจำ -หลักปฏิบัติว่าด้วยการแยกประเภทผู้ต้องขัง -การปฏิบัติต่อผู้ต้องโทษในเรือนจำและทัณฑสถาน --การจัดให้ผู้ต้องขังทำงาน --การให้การศึกษาวิชาสามัญ --การให้การศึกษาวิชาชีพ --การอบรมธรรมศึกษา --การบำบัดรักษาเมื่อผู้ต้องขังเจ็บป่วย --การให้สวัสดิการและการพักผ่อนหย่อนใจ -การปลดปล่อยตัวพ้นโทษก่อนกำหนด -เอกสารอ้างอิง สิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาที่จะพบทนาย[สมัคร เชาวภานันท์] -วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องขอพบและปรึกษาทนายความ --สิทธิการขอพบ --วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องขอ --อำนาจการสั่งอนุญาต --สถานที่พบ --วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับทนายความ --การบันทึกหลักฐาน -ผู้ต้องขังหรือผู้ต้องหาจะพบหรือติดต่อกับทนายได้ที่ไหน -สิทธิของจำเลยที่จะมีทนายช่วยเหลือ ภาคสอง สิทธิของผู้ต้องหาตามความเป็นจริง -บทที่ ๓ ความเป็นจริงตามกฎหมายไทย --การกล่าวหา --ผลของการกล่าวหา --วิธีวิเคราะห์สิทธิตามความเป็นจริง --สิทธิที่จะได้รับแจ้งข้อกล่าวหา --สิทธิที่จะไม่ถูกจำกัดเสรีภาพโดยไม่มีเหตุผลและโดยไม่จำเป็นตามกรณี --สิทธิจะพบและปรึกษาทนายความเป็นส่วนตัว การประกันตัว (ขอปล่อยชั่วคราว)[คัมภีร์ กิตติปริญญาพงศ์] -หลักเกณฑ์ในการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว -หลักประกันในการขอปล่อยชั่วคราว -การปรับนายประกัน การจับและการควบคุมภายหลังการจับ[บวร กุลทนันทน์] -ใครมีอำนาจจับได้บ้าง -จับได้อย่างไร --พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ --พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ --พนักงานสอบสวน --ราษฎรธรรมดา -การจับต้องกระทำอย่างไร -ข้อห้ามมิให้จับ -การควบคุมหลังถูกจับ --ระยะเวลาที่ศาลขังแบ่งตามอัตราโทษของแต่ละความผิด --สิทธิของผู้ต้องหาคัดค้านการขัง ปกหลัง
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการสัมมนาเรื่อง อิทธิพลของสื่อสารมวลชนต่อพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนไทย
    คณะกรรมาธิการกิจการเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการกิจการเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ สภาผู้แทนราษฎร, 2539)
    ส่วนที่ 5 เสนอมาตรการในการแก้ไขอภิปราย ผู้ดำเนินการอภิปราย -3. ผู้ร่วมสัมมนาเสนอความคิดเห็นและคำถามต่อที่ประชุม -2. [ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง] กรรมการมูลนิธิสื่อสร้างสรรค์ -1. [ผศ.ดร.สุรัตน์ เมธีกุล] คณบดีคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่วนที่ 4 วิจารณ์สภาพปัญหาจากอิทธิพลของสื่อมวลชนอภิปรายโดย -[สุนัย จุลพงศธร] สมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ ผู้ดำเนินการอภิปราย -3. ผู้ร่วมสัมมนาเสนอความคิดเห็นและคำถามต่อที่ประชุม -2. [ศุภเกียรติ ธารณกุล] ประธานสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย -1. [โสภณ สุภาพงษ์] กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทบางจากปิโตรเลียม(มหาชน)จำกัด ส่วนที่ 3 เสนอสภาพปัญหาจาดอิทธิพลของสื่อมวลชนอภิปรายโดย -[นิภา พริ้งศุลกะ] ประธานคณะกรรมาธิการกิจการเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุสภาผู้แทนราษฎร -[บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ] ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานรัฐสภา ส่วนที่ 2 คำกล่าวเปิดและรายงานการสัมมนา ส่วนที่ 1 เรื่องย่อ สารบัญ คำนำ ปกใน ปกหน้า -1. [รศ.อรุณี หอมเศรษฐี] หัวหน้าภาควิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง -2. [ศุภเกียรติ ธารณกุล] นายกสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย -3. [วัชรินทร์ ปัจเจกวิญญสกุล] ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต -4. ผู้ร่วมสัมมนาเสนอความคิดเห็นและคำถามต่อที่ประชุม ผู้ดำเนินการอภิปราย -[สาทิตย์ วงศ์หนองเตย] สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง ส่วนที่ 6 สรุปผลการสัมมนา -ประเมินผลการสัมมนา -สรุปการสัมมนา ภาคผนวก ก -1. โครงการสัมนาฯและกำหนดการ -2. ขอบข่ายการอภิปรายของวิทยากร -3. รายชื่อผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ -4. รายชื่อและตำแหน่งต่างๆ ของคณะกรรมาธิการกิจการเยาวชนสตรีและผู้สูงอายุ สภาผู้แทนราษฎร -5. รายชื่อคณะทำงาน ภาคผนวก ข -[มาลีรัตน์ แก้วก่า] สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร -1. โครงสร้างของรัฐสภา -2. กรรมาธิการ ภาคผนวก ค -1. แบบบันทึกความคิดเห็น/คำถามทางโทรศัพท์และในที่ประชุม -2. เอกสารประกอบการสัมมนา --- กฎหมาย ระเบียบวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ --- Thailand`s country paper for Asian summit on child rights and media กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับวิทยุกระจายเสีงและวิทยุโทรทัศน์ -1. พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ.2498 -2. พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์(ฉบับที่4) พ.ศ.2530 -3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2524) -4. กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2524) -5. กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2524) -6. กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2524) -7. กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2536) -8. กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2536) -9. กฎกระทรวง ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2537) -10. ระเบียบว่าด้วยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ.2535 บทนำ -แนวทางการพัฒนาเด็ก --1. National Declaration on Children --2. แผนชาติ --3. แผนงาน/โครงการ ---3.1 ภาครัฐ ---3.2 ภาคเอกชน -Mass Media ปกหลัง -3. รายชื่อคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาผู้แทนราษฎร
    คณะกรรมาธิการกิจการเยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ทิศทางการจัดการศึกษาของไทย 26-27 มกราคม 2536
    คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร, 2536)
    -ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งสภาการศึกษาจังหวัด ส่วนที่ 4 : สรุปการอภิปราย -สรุปสาระสำคัญการอภิปรายทั่วไป เรื่อง "ทิศทางการจัดการศึกษาของไทย" -การบรรยายพิเศษ เรื่อง : ทิศทางการจัดการศึกษาของไทย (ระดับอุดมศึกษา) ส่วนที่ 3 : สรุปสาระสำคัญการบรรยายพิเศษ -สรุปคำถาม-คำตอบ และข้อเสนอแนะในการอภิปราย -สรุปการอภิปราย เรื่อง ทบวงการศึกษาพื้นฐาน -สรุปการอภิปราย เรื่อง สภาการศึกษาจังหวัด ส่วนที่ 2 : สรุปสาระสำคัญของการอภิปราย --- ฯพณฯ ประธานสภาผู้แทนราษฎร ศาสตราจารย์มารุต บุนนาค -คำล่าวเปิดการประชุมสัมมนา "ทิศทางการจัดการศึกษาไทย" : 27 มกราคม 2536 --- ประธานคณะกรรมการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร นายวัชรินทร์ เกตะวันดี -คำล่าวเปิดการประชุมสัมมนา "ทิศทางการจัดการศึกษาไทย" : 26 มกราคม 2536 --- ฯพณฯ รองนายกรัฐมนตรี นายบัญญัติ บรรรทัดฐาน -คำกล่าวรายงานพิธีเปิดการประชุมสัมมนา "ทิศทางการศึกษาของไทย" : 26 มกราคม 2536 ส่วนที่ 1 : พิธีเปิด - ปิดการประชุมสัมมนา สารบัญ คำนำ ปกใน ปกหน้า ปกหลัง -รายนามคณะทำงาน -รายนามคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร -รายนามผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนา -โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง "ทิศทางการจัดการศึกษาของไทย" ภาคผนวก -ข้อคิดเห็นของคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร -วิเคราะห์ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการสัมมนา -ข้อคิคเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งทบวงการศึกษาพื้นฐาน
    คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานคณะกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน ภาวะเงินเฟ้อของประเทศ การปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    คณะกรรมาธิการการคลัง สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการคลัง สภาผู้แทนราษฎร, )
    ปกหน้า ปกหลัง --2.2 การติดตามประเมินผลและการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณ --2.1 การจัดทำและการเสนองบประมาณ -2. ผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการฯ -1. ขั้นตอนและวิธี รายงานของคณะกรรมาธิการการคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ -4. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ -3. คำชี้แจงของฝ่ายรัฐบาลต่อปัญหาเงินเฟ้อ -2. สาเหตุของปัญหา -1. สภาพปัญหาเงินเฟ้อและผลกระทบต่อประชาชน รายงานการประชุมพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อของประเทศ สารบัญ คำปรารภ
    คณะกรรมาธิการการคลัง สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การสัมมนาเรื่อง เส้นทางสู่ประชาธิปไตย การพัฒนาสู่ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
    คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร, 2537)
    ปกหน้า ปกหลัง -สรุป --ดร.วิชัย ตันสิริ --ปิยะเชษฐ์ แคล้วคลาด --เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ --ศาสตราจารย์ น.พ. ประเวศ วะสี --บทบาทของสิทธิมนุษยชนกับการสร้างวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย -การอภิปราย เรื่อง บทบาทของสิทธิมนุษยชนกับการสร้างวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย ส่วนที่ 3 -ปัญหาที่ผู้เข้าร่วมสัมมนานำเสนอ -รูปแบบของเนื้องาน (การประสานเครือข่าย) --กรอบการอภิปราย -การสร้างเครือข่ายในศตวรรษที่ 21 -ภาวะผู้นำอิสระเกิดได้จาก -รูปธรรมของกลุ่มพลังอิสระในประเทศไทยมีจริงหรือไม่ ขณะนี้มีทิศทางว่าประชาชนกำลังรวมกลุ่มพลังอิสระ -การมองว่ากลุ่มพลังอิสระนั้นเป็นอย่างไร ให้มองจาก -ความเป็นไปได้ในการเกิดผู้นำกลุ่มอิสระ --กรอบการอภิปราย -การเพิ่มบทบาทของผู้นำกลุ่มอิสระ -ความเห็นจากผู้ร่วมสัมมนา --กรอบการอภิปราย -การเพิ่มบาบาทของชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชน -ข้อเสนอแนะ -การแก้ไขความขัดแย้งระหว่างนโยบายจากส่วนกลางกับตัวแทนองค์กรท้องถิ่น -สรุป --ประเด็น การเปลี่ยนอำนาจจากรัฐส่วนกลางไปสู่อำนาจท้องถิ่น -ความเห็นจากผู้ร่วมสัมมนา --ประเด็น การพัฒนาระบบการเมืองและสิทธิมนุษยชน -การเปลี่ยนอำนาจจากรัฐส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น -สรุป --ประเด็น การจัดการทรัพยากร งบประมาณ ระบบภาษีในท้องถิ่น --ประเด็น ทำอย่างไรถึงจะสร้างความตื่นตัวในหมู่ประชาชนให้มีจิตสำนึกรับผิดชอบ่อชุมชน และสามารถเข้าไปมีส่วนบริหาร ดูแลชุมชนของตน -ความเห็นจากผู้ร่วมสัมมนา --ประเด็น การให้ประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง -การกระจายอำนาจ/การให้อำนาจแก่ชุมชนท้องถิ่น --ประเด็น -การสัมมนา เรื่องการพัฒนาประชาธิปไตยในสังคมไทย ส่วนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาจากงานวิจัย สรุป ตัวชี้วัดประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ความเห็นจากผู้ร่วมสัมมนา ทางออกของปัญหา -2.ระบบราชการ -1.ประชาคม กรณีศึกษาเกี่ยวกับประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมสัมมนา ความเห็นจากผู้ร่วมสัมมนา สรุปผลการวิจัยความมุ่งหวังต่อระบบประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยเพื่อเสนอการสัมมนาวิพากษ์ วิจารณ์ การพัฒนาการไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความเท่าเทียม มิติ ปัจเจกชน และชุมชน ประชาธิปไตย การนำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง เส้นทางสู่ประชาธิปไตย สรุปผลการสัมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาประชาธิปไตยในสังคมไทย บทนำ คำกล่าว คำนำ
    คณะกรรมาธิการการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    เอกสารประกอบการสัมมนา "การพัฒนาลุ่มน้ำยม" เรื่อง "โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและความต้องการใช้น้ำ วันที่ 1 สิงหาคม 2537 ณ โรงแรมนครแพร่ ทาวเวอร์ จังหวัดแพร่
    คณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร, 2537)
    สารบัญ -11. โครงการเพิ่มน้ำให้อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแผ่งประเทศไทย] -10. สรุปงานการศึกษาปัญหาภัยแล้งของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาภัยแล้ว สภาผู้แทนราษฎร -9. สรุปผลการศึกษาดูงานด้านชลประทานโครงการพัฒนาแหล่งน้ำสโนวี่ประเทศออสเตรเลีย ของคณะกรรมาธิการ -8. สรุปผลการศึกษาดูงานด้านชลประทาน ณ ประเทศสหภาพพม่าของคณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร -7. สรุปผลการศึกษาดูงานด้านชลประทาน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกของคณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร -6. ร่างบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการพิจารณาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำในแม่น้ำสาละวินและสรุปผลการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-พม่า ครั้งที่ 1 ที่กรุงย่างกุ้งเมื่อวันที่ 16-18 กันยายน 2536 -5. สถานการณ์น้ำและทางเลือกในการจัดการน้ำไม่พอใช้และทางเลือกในการจัดการ[จิรพล สินธุนาวา] -4. รัฐจะจัดหาน้ำมาให้แก่ประชาชนใช้อย่างเพียงพอได้อย่างไร[เจริญ เชาวน์ประยูร] ข้อมูลประกอบการสัมมนา 3. พิธีเปิดการสัมนา 2. กำหนดการสัมมนา 1. โครงการสัมมนา
    คณะกรรมาธิการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการศึกษาการนำพลังงานนิวเคลียร์มาผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย
    คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการพลังงานกองกรรมาธิการ สภาผู้แทนราษฎร, 2537)
    ปกหน้า ปกหลัง บรรณานุกรม อักษรย่อ ภาคผนวก -8. บทสรุป -7. แผนดำเนินการต่อเนื่อง -6. ทางเลือกไฟฟ้านิวเคลียร์ -5. สถานการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ -4. สาระการศึกษา -3. วิธีการศึกษา -2. วัตถุประสงค์ -1. บทนำ รายงานการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการการพลังงาน การดูงาน สรุปผลการสัมมนา ข้อสรุปและข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมาธิการการพลังงาน ข้อสรุปและข้อเสนอแนะคณะกรรมาธิการการพลังงาน สารบัญ คณะกรรมาธิการการพลังงาน กิตติกรรมประกาศ คำนำ
    คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาศึกษาเรื่อง กรณีการสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นภูกระดึง
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 3 กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว (สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, )
    ปกหน้า ปกหลัง -ค. ภาพประกอบ -ข. รายนามคณะอนุกรรมาธิการและคณะทำงาน --ตารางที่ 2 ตารางสรุปเปรียบเทียบปัญหาข้อจำกัด ศักยภาพ ข้อดี/ข้อเสีย ของการมีและไม่มีกระเช้าลอยฟ้า -ก. ตารางที่ 1 สรุปสภาพปัจจุบันของสิ่งแวดล้อมตามเส้นทางเลือกต่าง ๆ ภาคผนวก -(ร่าง) โครงการเขตพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอุทยานแห่งชาติภูกระดึง และข้อเสนอทางเลือกในการตัดสินใจก่อสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นภูกกระดึง ส่วนที่ (2) -3. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ --2.2 ผลการพิจารณาศึกษา --2.1 แนวทางการดำเนินงานของคณะอนุกรรมาธิการ -2. ผลการพิจารณาศึกษา -1. วิธีการพิจารณาศึกษา ส่วนที่ (1) รายงานคณะกรรมาธิการ สารบัญ
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการศึกษาดูงานและเจรจาธุรกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 11 ธันวาคม 2546
    คณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขิการสภาผู้แทนราษฎร, 2547)
    ปกหน้า ปกหลัง -4.2 ประเทศสหรัฐอเมริกา -4.1 ประเทศแคนาดา บทที่ 4 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากการศึกษาดูงาน -3.5 นครซานฟรานซิสโก -3.4 เมืองลาสเวกัส -3.3 นครนิวยอร์ก -3.2 กรุงวอชิงตัน -3.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประเทศสหรัฐอเมริกา บทที่ 3 การศึกษาดูงานในประเทศสหรัฐอเมริกา -2.4 เมืองโตรรอนโต -2.3 เมืองวิคตอเรีย -2.2 นครแวนคูเวอร์ -2.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประเทศแคนาดา บทที่ 2 การศึกษาดูงานในประเทศแคนาดา -1.3 คณะกรรมาธิการและผู้ร่วมเดินทาง -1.2 กำหนดการเดินทาง -1.1 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน บทที่ 1 บทนำ กิตติกรรมประกาศ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร คำนำ สารบัญ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษา ผู้ชำนาญการ และเลขานุการประจำคณะกรรมาธิการ การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายชื่อคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร ปกใน
    คณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สวัสดิการชวนรู้
    คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2547)
    ปกหน้า สารจากคณะกรรมาธิการ การสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร รายนามคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคมสภาผู้แทนราษฎร สารบัญ สวัสดิการสำหรับเด็กและเยาวชน สวัสดิการสำหรับสตรี สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ สวัสดิการสำหรับคนไร้ที่พึ่ง สวัสดิการสำหรับคนไทยตกทุกข์ได้ยากกลับภูมิลำเนา สวัสดิการสำหรับครอบครัวผู้มีรายได้น้อย สวัสดิการสำหรับประชากรบนพื้นที่สูง สวัสดิการสำหรับคนพิการ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวสำหรับคนพิการและผู้ประสบปัญหาทั่วไป สวัสดิการสำหรับผู้ติดเชื้อเอดส์หรือผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาเอดส์ บริการสังคมสงเคราะห์ กทม. >- การสงเคราะห์ทั่วไป >- การฝึกอาชีพ หมายเลขโทรศัพท์สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัดทั่วประเทศ สายด่วนสวัสดิการสังคม ปกหลัง
    คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎร