2.04.01.02.04 วิจัยปริทัศน์

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 60
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 60 (ก.ค. 2568) [นโยบายการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยีของต่างประเทศ]
    บูชิตา ไวทยานนท์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-07)
    - ความหมายและประเภทของอาชญากรรมทางเทคโนโลยี - แนวโน้มของอาชญากรรมทางเทคโนโลยีในระดับโลก - ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของอาชญากรรมทางเทคโนโลยี - ผลกระทบของอาชญากรรมทางเทคโนโลยี - กรณีศึกษานโยบายการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยีของต่างประเทศ 1. สหรัฐอเมริกา 2. สหภาพยุโรป 3. สิงคโปร์ - แนวปฏิบัติที่ดีจากประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่น 1. เกาหลีใต้ 2. ญี่ปุ่น - การวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงระบบเกี่ยวกับนโยบายการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยี - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับประเทศไทย - บรรณานุกรม
    2568-07
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 59 (มิ.ย. 2568) [การทำงานวิถีใหม่แบบผสมผสาน (Hybrid Working)]
    วิมลรักษ์ ศานติธรรม; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-06)
    การทำงานวิถีใหม่แบบผสมผสาน (Hybrid Working)[วิมลรักษ์ ศานติธรรม] บทคัดย่อ บทนำ 1. ชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ 2. ข้อดีของการทำงานแบบผสมผสาน (Hybrid Working) 3. ข้อเสียของการทำงานแบบผสมผสาน (Hybrid Working) 4. Hybrid Working กับ Work From Home แตกต่างกันอย่างไร 5. สาเหตุที่ Hybrid Working ในประเทศไทยช่วงแรกไม่ค่อยได้รับนิยม 6. การทำงานวิถีใหม่ในต่างประเทศ 6.1 สหรัฐอเมริกา 6.2 สหราชอาณาจักร 6.3 เยอรมนี 6.4 เนเธอร์แลนด์ 6.5 สวีเดน 6.6 ญี่ปุ่น 6.7 ออสเตรเลีย 7. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 8. บทสรุปและข้อเสนอแนะ 8.1 บทสรุป 8.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม
    2568-06
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 58 (พ.ค. 2568) [การสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่กลับคืนสู่ชุมชนบ้านเกิด]
    ปิยะวรรณ ปานโต; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-05)
    บทคัดย่อ บทนำ 1. พื้นที่ทำการเกษตร 1.1 เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตดี 1.2 เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง 1.3 เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ำ 2. ผลผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ 2.1 ข้าวนาปรัง 2.2 ปาล์มน้ำมัน 2.3 ยางพารา 2.4 ทุเรียน 3. การสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่ในต่างประเทศ 3.1 ประเทศฝรั่งเศส 3.2 ประเทศเยอรมนี 3.3 ประเทศออสเตรีย 3.4 ประเทศสหรัฐอเมริกา 3.5 ประเทศสเปน 3.6 ประเทศกรีซ 3.7 ประเทศอิตาลี 3.8 ประเทศโปแลนด์ 3.9 ประเทศสโลวาเกีย 3.10 ประเทศโครเอเชีย 4. ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. ปัญหาการขาดแคลนเกษตรกรรุ่นใหม่ 6. บทสรุปและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม
    2568-05
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 57 (เม.ย. 2568) [ภาษีเงินได้แบบติดลบ (Negative Income Tax: NIT) สวัสดิการแก้จนและลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้]
    วิลาสิณี ฉายรัตน์ตระกูล; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-04)
    บทคัดย่อ บทนำ สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ ความหมายของแนวคิดภาษีเงินได้แบบติดลบ (Negative Income Tax: NIT) การทำงานของระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ จุดเด่นของระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ ความท้าทายของระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ กรณีศึกษาต่างประเทศที่ใช้ระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ กรณีต่างประเทศที่ใช้ระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ ความแตกต่างของระบบภาษีเงินได้แบบติดลบ (NIT) กับระบบรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (Universal Basic Income: UBI) รูปแบบภาษีเงินได้แบบติดลบที่เสนอให้ใช้ในประเทศไทย ข้อเสนอแนะต่อรูปแบบภาษีเงินได้แบบติดลบของประเทศไทย บรรณานุกรม
    2568-04
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 56 (มี.ค. 2568) [คาร์บอนเครดิต: โอกาสของเศรษฐกิจไทย]
    วิจิตรา ประยูรวงษ์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-03)
    บทคัดย่อ บทนำ คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) คืออะไร? คาร์บอนเครดิตกับประเทศไทย หน่วยงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับคาร์บอนเครดิตของไทย การซื้อขายคาร์บอนเครดิตในประเทศไทย โอกาสของเศรษฐกิจไทย นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -เนติวรรณ ดวงศรี, เกรียงศักดิ์ โชติจรุงเกียรติ์, จีระศักดิ์ ดิษฐพลขันธ์, ธิติ เตชะไพโรจน์,และจุฑามาศ นันทโพธิเดช -กฤษรัตน์ ศรีสว่าง -ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์, คุณากร วิวัฒนากรวงศ์, และพันธกานต์ ทานนท์ -ณัฐริกา วายุภาพ นิติพน บทสรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม
    2568-03
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 55 (ก.พ. 2568) [การติดโทรศัพท์มือถือของเด็กและเยาวชน: ภัยเงียบใกล้ตัวที่ควรระวัง และแนวทางแก้ไข]
    ปภัชญา อินสิงห์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-02)
    บทคัดย่อ บทนำ สถิติการใช้โทรศัพท์มือถือทั่วโลกและในประเทศไทย 1. ด้านประชากรโลก 2. ด้านการเข้าถึงโทรศัพท์มือถือ 3. ด้านการเติบโตของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและโซเซียลมีเดีย 3.1 จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 3.2 จำนวนผู้ใช้โซเชียลมีเดีย - การมีโทรศัพท์มือถือและการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชนไทย - การมีโทรศัพท์มือถือ - การใช้อินเทอร์เน็ต - ความแตกต่างระหว่างสมาร์ทโฟนและโทรศัพท์ธรรมดา - พฤติกรรมการใช้และการติดโทรศัพท์มือถือของเด็กและเยาวชนไทย - สาเหตุของการติดโทรศัพท์มือถือในเด็กและเยาวชน - ผลกระทบจากการติดสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์มือถือ - นโยบายจำกัดการใช้สมาร์ทโฟนของโรงเรียนในต่างประเทศ 1. ประเทศเนเธอร์แลนด์ 2. ออสเตรเลีย 3. จีน 4. สหราชอาณาจักร 5. ฟินแลนด์ 6. ฝรั่งเศส 7. อินโดนีเซีย นโยบายการจำกัดการใช้สมาร์ทโฟนในโรงเรียนของประเทศไทย 1. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 2. โรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ จังหวัดสตูล 3. โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม จังหวัดลำพูน ศูนย์และสถาบันที่ให้บริการบำบัดเด็กติดมือถือ 1. สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ 2. KIN Clinic 3. โรงพยาบาลเด็กสินแพทย์ 4. มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - กนกพร อิ่มขวัญ ชลดา ด้วงบ้านยาง และธนัช กนกเทศ - คุณาวุฒิ วรรณจักร และพิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร - จีรวรรณ ศรีจันทร์ไชย และสุจิมา ติลการยทรัพย์ - ชัยกฤต ยกพลชนชัย ญานิฐา แพงประโคน จารุพร ดวงศรี และเพ็ญมาศ สุคนธจิตต์ - ญาตรี สมล่ำ และกันยนา ศรีพฤกษ์ บทสรุปและข้อเสนอแนะ - ข้อดีของการห้ามใช้โทรศัพท์มือถือ - ข้อเสียของการห้ามใช้โทรศัพท์มือถือ - วิธีการป้องกันและแก้ไขการติดสมาร์ทโฟน --ด้านผู้ปกครอง --ด้านรัฐบาล บรรณานุกรม
    2568-02
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 54 (ม.ค. 2568) [การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขการถ่ายโอน รพ.สต. สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]
    ปรียวรรณ สุวรรณสูนย์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-01)
    บทคัดย่อ บทนำ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 3. พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 4. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 - หลักการและวัตถุประสงค์ในการกระจายอำนาจและการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การดำเนินการก่อนการถ่ายโอนภารกิจด้านสาธารณสุขแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ตัวชี้วัดและขั้นตอนการประเมินความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับการถ่ายโอน - การดำเนินการหลังการถ่ายโอนภารกิจ งานที่เกี่ยวข้อง - วราภรณ์ ผ่องอ่วย, ปาณิสรา นาเลิศ และโชติ บดีรัฐ - นภัสภรณ์ เชิงสะอาด และคณะ - ณรงค์ เมืองมูล - วัฒนา แก้วแย้ม และคณะ - กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์ และคณะ - โชติ บดีรัฐ และวราภรณ์ ผ่องอ่วย - ประสิทธิ์ มีแก้ว และคณะ บรรณานุกรม
    2568-01
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 52 (พ.ย. 2567) [ภัยคุกคามไซเบอร์: กรณีศึกษาองค์กรไทย]
    จันทมร สีหาบุญลี; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2567-11)
    บทคัดย่อ บทนำ การคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threat) ประเภทของการเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ประเภทของผู้คุกคามทางไซเบอร์ ประเภทของภัยคุกคามทางไซเบอร์ ลักษณะและผลของภัยคุกคามทางไซเบอร์ ความหมายความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ นโยบายขององค์กร การข่มขู่ ยับยั้ง ลงโทษ การตรวจสอบและประเมินผลจากหน่วยงานกำกับดูแล การฝึกอบรมและให้ความรู้ ผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวทางการกำกับดูแลการรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ขององค์กรในยุคดิจิทัล[ชรินทร์ทิพย์ ปันสุวรรณ] -การจัดการความเสี่ยงจากภัยคุกคามไซเบอร์ของหน่วยงานภาครัฐ: บทเรียนจากหน่วยงานของศาลยุติธรรมในเขตอำนาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9[ธนพงศ์ ฉันทวิเชียร] -สถานภาพความพร้อมและดัชนีความพร้อมด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ[สุภาพร พรมโส] -การพัฒนามาตรการทางกฎหมายการรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ของบริษัทประกันภัย[ปัญมณิสาธ์ องค์ปรัชญากุล] -ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย[นริส อุไรพันธ์][ณัชชา สมจันทร์] -ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการปฏิบัติตามนโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของพนักงานในกลุ่ม Oil and gas[กิตติศักดิ์ จันทร์นิเวศน์] บทวิเคราะห์ สถานการณ์ภัยคุกคามทางไซเบอร์ขององค์กรไทย บริบทขององค์กรไทยต่อภัยคุกคามไซเบอร์ อุปสรรคและปัญหาภัยคุกคามไซเบอร์องค์กรไทย แนวทางการบริหารจัดการภัยคุกคามไซเบอร์ขององค์กรไทย บทสรุป ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม
    2567-11
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 53 (ธ.ค. 2567) [การวิจัยเพื่อพัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทย]
    สิฐสร กระแสร์สุนทร; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2567-12)
    2567-12
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    วิจัยปริทัศน์ ฉบับที่ 51 (ต.ค. 2567) [องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]
    อัญชลี จวงจันทร์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2567-10)
    บทคัดย่อ บทนำ ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก นโยบาย/แผนงานในการกำกับดูแลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2570) 3. แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558–2593 นโยบาย/แผนปฏิบัติการและการดำเนินการที่สำคัญระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. กระทรวงมหาดไทย 3. สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) 4. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 5. กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 2. กฎหมายการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในต่างประเทศ - สหรัฐอเมริกา - ประเทศญี่ปุ่น - สาธารณรัฐประชาชนจีน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - อังศุมา ก้านจักร และคณะ - อัศมน ลิ่มสกุล และคณะ บทสรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม
    2567-10