ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี เล่ม 1 ประเภทบุคคล
dc.contributor.orgUnit | กรมตำรวจ กองวิชาการ | TH |
dc.date.accessioned | 2015-12-17T09:18:06Z | |
dc.date.available | 2015-12-17T09:18:06Z | |
dc.date.issued | 1983 | TH |
dc.description.tableofcontents | ปกหน้า ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี เล่ม 1 ประเภทบุคคล[กองวิชาการ กรมตำรวจ] ข้อบังคับที่ 4/2499 เรื่อง วางระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 13 ตุลาคม 2499 คำสั่งที่ 26/2506 เรื่อง ยกเลิกและแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2506 คำสั่งที่ 39/2506 เรื่อง ยกเลิกและแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2506 คำสั่งที่ 40/2506 เรื่อง ยกเลิกแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 25 ธันวาคม 2506 คำสั่งกรมตำรวจ ที่ 1701/2523 เรื่อง ตั้งกรรมการดำเนินงานปรับปรุงแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2523 คำสั่งกรมตำรวจ ที่ 1410/2524 เรื่อง ตั้งกรรมการดำเนินงานปรับปรุงแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีเพิ่มเติม สั่ง ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2524 คำสั่งกรมตำรวจ ที่ 1184/2525 เรื่อง ยกเลิก แก้ไขและเพิ่มเติมประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี สั่ง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2525 สารบาญ ลักษณะที่ 1 ความประพฤติและระเบียบวินัย -บทที่ 1 ความประพฤติและระเบียบวินัย -บทที่ 2 การลงทัณฑ์ -บทที่ 3 การตั้งกรรมการและการสอบสวนเมื่อกระทำผิดต่อวินัยตำรวจ -บทที่ 4 การพิจารณาทัณฑ์การกระทำผิดในบางกรณี -บทที่ 5 การร้องทุกข์ตามวินัยตำรวจ -บทที่ 6 การคุมขังและใช้งานตำรวจที่ต้องทัณฑ์ -บทที่ 7 การลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน -บทที่ 8 การสอบสวนความผิดต่อวินัยข้าราชการพลเรือน -บทที่ 9 การตั้งกรรมการสอบสวนร่วมกัน -บทที่ 10 การอุทธรณ์คำสั่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน -บทที่ 11 การพักราชการ -บทที่ 12 วิธีปฏิบัติเมื่อข้าราชการตำรวจกระทำผิดทางอาญา -บทที่ 13 การรายงานเมื่อต้องคดี -บทที่ 14 การกันข้าราชการตำรวจผู้ร่วมกระทำผิดเป็นพยาน ลักษณะที่ 2 การปกครองบังคับบัญชา -ลักษณะที่ 2 การปกครองบังคับบัญชา ลักษณะที่ 3 การรับสมัคร -บทที่ 1 หลักทั่วไปว่าด้วยการรับสมัครบุคคลเข้ารับราชการตำรวจ -บทที่ 2 การรับสมัครทหารกองหนุนเป็นข้าราชการตำรวจ -บทที่ 3 การรับสมัครต่อจากวันครบกำหนดปลดกองหนุน -บทที่ 4 การรับสมัคร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งหลังจากวันครบกำหนดปลดจากกองประจำการเป็นทหารกองหนุน ลักษณะที่ 4 การบรรจุ -บทที่ 1 หลักเกณฑ์ทั่วไปว่าด้วยการบรรจุข้าราชการตำรวจ -บทที่ 2 การบรรจุผู้ได้รับปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ -บทที่ 3 การคัดเลือกพลตำรวจเพื่อบรรจุเป็นสิบตำรวจตรี -บทที่ 4 การบรรจุข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วกลับเข้ารับราชการ -บทที่ 5 การคัดเลือกนายดาบตำรวจและจ่าสิบตำรวจเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจชั้นประทวนเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร ลักษณะที่ 5 การแต่งตั้ง -บทที่ 1 การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ -บทที่ 2 การแต่งตั้งผู้รักษาการในตำแหน่ง การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน -บทที่ 3 การสั่งให้ประจำและให้สำรองราชการ -บทที่ 4 การสั่งให้ข้าราชการตำรวจไปประจำที่อื่นชั่วคราว จากที่ได้สั่งแต่งตั้งไว้เดิม ลักษณะที่ 6 การเกณฑ์และการปลดตำรวจ -บทที่ 1 หลักเกณฑ์ทั่วไปว่าด้วยการเกณฑ์และการปลดตำรวจ -บทที่ 2 การขอเรียกและส่งคนเข้าเป็นทหารและตำรวจกองประจำการ -บทที่ 3 การเขียนสมุดระดมพลและจ่ายสมุดประจำตัวตำรวจนอกกองประจำการ -บทที่ 4 การออกใบสำคัญทหารนอกประจำการแทนฉบับที่หาย -บทที่ 5 การนำบุคคลที่สมัครรับราชการตำรวจอยู่แล้วขึ้นทะเบียนเป็นตำรวจกองประจำการ -บทที่ 6 การผ่อนผันบุคคลที่อยู่ในระหว่างการศึกษา -บทที่ 7 บันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทยในระเบียบการอันเกี่ยวกับพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 -บทที่ 8 ระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสมุดประจำตัวทหารกองหนุนประเภทที่ 1 สำหรับตำรวจ -บทที่ 9 การปลดข้าราชการตำรวจเป็นทหารกองหนุนประเภทที่ 2 ลักษณะที่ 7 ยศและบรรดาศักดิ์ -บทที่ 1 การออกประทวนยศนายตำรวจชั้นประทวน -บทที่ 2 การขอพระราชทานยศ -บทที่ 3 การถอดยศและบรรดาศักดิ์ -บทที่ 4 การขอพระราชทานยศให้แก่จ่าสิบตำรวจที่ครบเกษียณอายุราชการ ลักษณะที่ 8 การโอน -ลักษณะที่ 8 การโอน ลักษณะที่ 9 การออกจากราชการ -บทที่ 1 หลักทั่วไปว่าด้วยการออกจากราชการ -บทที่ 2 การมอบหมายอำนาจการสั่งไล่ออก ปลดออก ให้ออก หรือพักราชการ และลาออกจากราชการ -บทที่ 3 วันออกจากราชการของข้าราชการตำรวจ -บทที่ 4 ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาอนุมัติให้ข้าราชการที่รับราชการมาครบ 30 ปี คงรับราชการต่อไปหรือออกจากราชการ -บทที่ 5 หลักเกณฑ์การพิจารณาข้าราชการสังกัดกรมตำรวจที่หย่อนความสามารถ สมควรให้ออกจากราชการ -บทที่ 6 การขอต่ออายุข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร -บทที่ 7 การจ้างข้าราชการที่ครบเกษียณอายุไว้รับราชการต่อ ลักษณะที่ 10 เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญตรา -บทที่ 1 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ -บทที่ 2 ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ -บทที่ 3 การขอเหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญจักรมาลา -บทที่ 4 การขอเหรียญราชนิยมและเหรียญกาชาดสรรเสริญ -บทที่ 5 การขอพระราชทานเหรียญกล้าหาญ, เหรียญชัยสมรภูมิ และเหรียญราชการชายแดน -บทที่ 6 การขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา -บทที่ 7 ลำดับเกียรติของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ -บทที่ 8 ราคาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ -บทที่ 9 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ชาวต่างประเทศ -บทที่ 10 การเรียกเครื่องราชอิสริยาภรณ์คืนจากผู้ได้รับพระราชทาน -บทที่ 11 การทำพิธีมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการตำรวจ -บทที่ 12 เหรียญตราต่างประเทศที่จะต้องขอพระบรมราชานุญาตประดับ -บทที่ 13 การเข้าเฝ้ารับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ -บทที่ 14 ระเบียบ ว่าด้วยการขอพระราชทาน การประดับและกรณีที่ให้ประดับเหรียญพิทักษ์เสรีชน สิทธิ บัตรประจำตัว และการเรียกเหรียญกับบัตรประจำตัวผู้ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชนคืน พ.ศ. 2512 -บทที่ 15 การขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ลักษณะที่ 11 การศึกษา การฝึกอบรม -บทที่ 1 การรับสมัครบุคคลเข้าเป็นนักเรียนพลตำรวจ -บทที่ 2 หลักสูตรสำหรับฝึกและอบรมพลตำรวจ -บทที่ 3 หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจหญิงที่มียศชั้นพลตำรวจ -บทที่ 4 โรงเรียนนายสิบตำรวจ -บทที่ 5 ข้อบังคับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ -บทที่ 6 ระเบียบการแข่งขันยิงเป้าสำหรับนักเรียนนายร้อยตำรวจ -บทที่ 7 การฝึกวิชาทหารสำหรับตำรวจและแบบฝึกขี่ม้าสำหรับหน่วยตำรวจม้า -บทที่ 8 การฝึกซ้อมยิงเป้าด้วยกระสุนจริง -บทที่ 9 การฝึกและอบรมของพลตำรวจเกณฑ์ -บทที่ 10 การฝึกพลศึกษาและกีฬาของกรมตำรวจ -บทที่ 11 การฝึกอบรมข้าราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตำรวจ -บทที่ 12 การฝึกและอบรมตำรวจซึ่งเอกชนจ้างไปรักษาการณ์ -บทที่ 13 การฝึกและอบรมตำรวจประจำวัน ณ สถานีตำรวจ -บทที่ 14 การอบรมผู้มีคุณวุฒิรัฐศาสตร์บัณฑิตและนิติศาสตร์บัณฑิตเป็นนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร -บทที่ 15 ระเบียบการฝึกอบรมหลักสูตรรองสารวัตรปกครองป้องกันและรองสารวัตรสืบสวนสอบสวน -บทที่ 16 การอบรมศีลธรรมและความรู้ข้าราชการตำรวจ -บทที่ 17 การให้ทุนไปศึกษาวิชาในต่างประเทศและการรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในต่างประเทศเข้าเป็นข้าราชการตำรวจ -บทที่ 18 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจรถไฟ -บทที่ 19 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมจ่าสิบตำรวจเพื่อพิจารณาบรรจุเป็นนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร -บทที่ 20 การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการใต้น้ำและระเบียบการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงาน -บทที่ 21 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมพนักงานวิทยุสื่อสาร และช่างวิทยุของกรมตำรวจ -บทที่ 22 ระเบียบและหลักสูตรการอบรมวิชาเกี่ยวกับการพิมพ์ลายนิ้วมือ -บทที่ 23 หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกแบบ พี.พี.ซี. ระบบ เอฟ.บี.ไอ. -บทที่ 24 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกชัยยะ -บทที่ 25 ระเบียบและหลักสูตรการโดดร่ม -บทที่ 26 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่การเงิน -บทที่ 27 ระเบียบและหลักสูตรการต่อต้านปราบปรามการก่อความไม่สงบ -บทที่ 28 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมพนักงานขับรถยนต์ -บทที่ 29 ระเบียบการศึกษาต่อของข้าราชการตำรวจในสถาบันการศึกษาภายในประเทศ -บทที่ 30 ระเบียบและหลักสูตรวิชาการพยาบาลภาคสนาม -บทที่ 31 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาครูสำหรับตำรวจ -บทที่ 32 ระเบียบและหลักสูตรวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์ของกรมตำรวจ -บทที่ 33 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาการสืบสวนระดับนายสิบตำรวจ -บทที่ 34 ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรหลักสูตรสารวัตรและผู้บังคับกอง -บทที่ 35 การฝึกบินเปลี่ยนแบบของนักบินประจำกองและครูการบิน ลักษณะที่ 12 หน้าที่การงานและตำแหน่งงานต่าง ๆ -บทที่ 1 หน้าที่เสมียนประจำวัน -บทที่ 2 หน้าที่เสมียนพิเศษ -บทที่ 3 หน้าที่จ่ากองร้อย -บทที่ 4 หน้าที่พนักงานสารบรรณ -บทที่ 5 หน้าที่พนักงานรับ-ส่งและเก็บหนังสือ -บทที่ 6 หน้าที่พนักงานพิมพ์ -บทที่ 7 หน้าที่พนักงานทะเบียนพล -บทที่ 8 หน้าที่พนักงานประวัติ -บทที่ 9 หน้าที่พนักงานพลาธิการ (พัสดุ) -บทที่ 10 หน้าที่สมุห์บัญชี -บทที่ 11 หน้าที่พนักงานคดีบัญชี โจรผู้ร้าย -บทที่ 12 หน้าที่นายแพทย์และนายสิบพลพยาบาล -บทที่ 13 หน้าที่ภารโรง -บทที่ 14 หน้าที่การเลี้ยงม้า -บทที่ 15 หน้าที่หัวหน้ากิ่งสถานีตำรวจนครบาล -บทที่ 16 หน้าที่ของสารวัตรปกครองป้องกัน, สารวัตรสืบสวนสอบสวน และสารวัตรจราจร -บทที่ 17 หน้าที่สารวัตรตำรวจนครบาล -บทที่ 18 หน้าที่สารวัตรใหญ่ตำรวจนครบาล -บทที่ 19 หน้าที่ผู้กำกับการตำรวจนครบาล -บทที่ 20 หน้าที่ผู้บังคับการตำรวจนครบาล -บทที่ 21 หน้าที่หัวหน้าสถานีตำรวจภูธรตำบล -บทที่ 22 หน้าที่หัวหน้าสถานีตำรวจภูธรและหัวหน้าสถานีตำรวจภูธรกิ่งอำเภอ -บทที่ 23 หน้าที่สารวัตรใหญ่สถานีตำรวจภูธร สารวัตรปกครองป้องกันสถานีตำรวจภูธร สารวัตรสืบสวนสอบสวนสถานีตำรวจภูธร และสารวัตรจราจรสถานีตำรวจภูธร -บทที่ 24 หน้าที่ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัด -บทที่ 25 หน้าที่ผู้บังคับการตำรวจภูธร -บทที่ 26 หน้าที่ผู้ดำรงตำแหน่งรองหรือผู้ช่วย -บทที่ 27 หน้าที่นายเวร -บทที่ 28 หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล -บทที่ 29 หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง -บทที่ 30 หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจภูธร -บทที่ 31 หน้าที่ผู้บัญชาการศึกษา -บทที่ 32 หน้าที่จเรตำรวจ -บทที่ 33 หน้าที่รองอธิบดีและผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ ลักษณะที่ 13 ประวัติ -บทที่ 1 การจัดทำและเก็บรักษาสมุดประวัติข้าราชการตำรวจ -บทที่ 2 หลักเกณฑ์การบันทึกความดีความชอบและราชการพิเศษ ลักษณะที่ 14 การเลื่อนเงินเดือนและจรรยาบรรณ -บทที่ 1 การพิจารณาให้บำเหน็จความชอบกรณีพิเศษ -บทที่ 2 การทำจรรยาบรรณ -บทที่ 3 การบรรจุข้าราชการตำรวจที่สอบได้คะแนนดีมาก ลักษณะที่ 15 การรับและการส่งมอบหน้าที่ -บทที่ 1 การรับและการส่งมอบหน้าที่ -บทที่ 2 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับส่งงานในหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2524 ลักษณะที่ 16 การไหว้พระสวดมนต์สำหรับตำรวจ -ลักษณะที่ 16 การไหว้พระสวดมนต์สำหรับตำรวจ ปกหลัง | |
dc.format.extent | 866 | TH |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier | 16903.pdf | TH |
dc.identifier.uri | https://hdl.handle.net/20.500.14156/460767 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | กองวิชาการ กรมตำรวจ | TH |
dc.subject.lcc | KG 113 | TH |
dc.title | ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี เล่ม 1 ประเภทบุคคล | TH |
dc.type | Text | |
dcterms.accessRights | Open access | |
mods.genre | สิ่งพิมพ์ทั่วไป | TH |
mods.physicalLocation | หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร | |
nalt.date.issuedBE | 2526 | |
nalt.libBibNumber | 16903 | TH |
nalt.publicationPlace | กรุงเทพฯ | TH |
แฟ้มข้อมูล
บันเดิลข้อมูลต้นฉบับ
1 - 1 จากทั้งหมด 1