รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ การพยากรณ์ผลกระทบภายนอกที่มีต่อเศรษฐกิจของไทยและการเสนอแนะเชิงนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง
0
0
ประเภททรัพยากร
จำนวนหน้า/ขนาด
328
หน่วยงานที่เผยแพร่
วันที่เผยแพร่
2554-06
สิทธิ์ในการเข้าถึง
ข้อมูลอ้างอิง
ปภาภัทร อัครางกูร (2011). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ การพยากรณ์ผลกระทบภายนอกที่มีต่อเศรษฐกิจของไทยและการเสนอแนะเชิงนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14156/564474.
ผู้แต่ง
สารบัญ
-ตารางที่ 15 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้น และรายได้ของประเทศคู่ค้าที่สำคัญลดลง แต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังบวกหนึ่งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และให้ตัวแปรภายนอกอื่นเปลี่ยนแปลงแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง
-ตารางที่ 16 พยากรณ์ผลกระทบหลังการใช้นโยบายลดการแข็งค่าเงินบาทเพื่อลดการเร่งผลิตเพื่อส่งออก ลดการนำเข้าและการบริโภคนิยม
-ตารางที่ 17 ค่าพยากรณ์ผลกระทบในกรณีลดการแข็งค่าเงินบาทลง แต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังบวกหนึ่งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 18 พยากรณ์ผลกระทบหลังการใช้นโยบายกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อตามแนวโน้มของตลาด เพื่อลดการนำเข้าและการบริโภคนิยม
-ตารางที่ 19 ค่าพยากรณ์ผลกระทบในกรณีใช้นโยบายกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อตามแนวโน้มของตลาด โดยเปลี่ยนแปลงแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังบวกหนึ่งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 20 พยากรณ์ผลกระทบหลังการใช้นโยบายกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อที่เป็นแกนกลางตามแนวโน้มของตลาด เพื่อลดการนำเข้าและการบริโภคนิยม
-ตารางที่ 21 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อที่เป็นแกนกลางในตลาดมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังบวกหนึ่งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 22 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของนโยบายในการแก้ไขปัญหาการเร่งผลิตเพื่อส่งออกสูง การไม่พึ่งพาตนเอง และการเน้นบริโภคนิยม
-ตารางที่ 23 พยากรณ์ผลกระทบหลังการใช้นโยบายผสม ได้แก่ ลดการแข็งค่าเงินบาท กำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อตามแนวโน้มของตลาด และกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อที่เป็นแกนกลางตามแนวโน้มของตลาด เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งผลิตเพื่อส่งออกสูง ไม่พึ่งพาตนเอง และเน้นบริโภคนิยม
-ตารางที่ 24 ค่าพยากรณ์ผลกระทบกรณีใช้นโยบายผสม ได้แก่ นโยบายลดการแข็งค่าเงินบาท นโยบายกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อตามแนวโน้มของตลาด และนโยบายกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อที่เป็นแกนกลางตามแนวโน้มของตลาด เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่พอเพียงที่เกิดขึ้นในกรณีมองโลกตามแนวโน้มที่มีความเสี่ยง
-ตารางที่ 25 ค่าพยากรณ์ผลกระทบกรณีใช้นโยบายผสม ได้แก่ นโยบายลดการแข็งค่าเงินบาท นโยบายกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อตามแนวโน้มของตลาด และนโยบายกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อที่เป็นแกนกลางตามแนวโน้มของตลาด เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่พอเพียงที่เกิดขึ้นในกรณีมองโลกในแง่ร้ายและมีความเสี่ยง
-ตารางที่ 26 สรุปค่าพยากรณ์ผลกระทบภายนอกและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง
สารบัญภาพประกอบ
-ภาพที่ 1 ผลกระทบจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้น
-ภาพที่ 2 ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้น
-ภาพที่ 3 ผลกระทบของรายได้ของประเทศคู่ค้าที่สำคัญสูงขึ้น
-ภาพที่ 4 ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ในแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค
-ภาพที่ 5 กรอบแนวความคิดของการวิจัยครั้งนี้
-ภาคผนวก ก ค่าในอนาคตของตัวแปรภายนอกที่ใช้ในแบบจำลอง
-ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์สมการระบบซึ่งได้จากการประมาณการด้วยวิธี 3SLS โดยใช้โปรแกรม Eviews
-ภาคผนวก ค ข้อมูลของตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลอง
-ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์แบบจำลอง
-ภาคผนวก จ การตรวจสอบความชี้ชัด (identification) และสมการลดรูป (reduced form)
-ภาคผนวก ฉ การทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวของตัวแปร (cointegration)
-ภาคผนวก ช ค่า RMS percentage error และ Theil's inequality coefficient ของตัวแปรต่าง ๆ
-ภาคผนวก ซ ค่าในอนาคตของตัวแปรภายนอก และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของทั้งตัวแปรเหตุการณ์ภายนอก และตัวแปรนโยบาย
-ภาคผนวก ญ ค่าพยากรณ์ผลกระทบต่อตัวแปรเป้าหมายโดยเปรียบเทียบระหว่างกรณีมองโลกในแง่ร้ายที่มีความเสี่ยงกับกรณีมองโลกตามแนวโน้มและมีความเสี่ยง
-ภาคผนวก ฎ บทความที่ใช้ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ
บรรณานุกรม
สารบัญตาราง
-ตารางที่ 1 การศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในประเด็นต่าง ๆ
-ตารางที่ 2 ความแตกต่างของแบบจำลองทางเศรษฐกิจมหภาคของไทย
-ตารางที่ 3 การวิจัยในอดีตเกี่ยวกับตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค
-ตารางที่ 4 สรุปสมการระบบโดยแยกตามภาคเศรษฐกิจ
-ตารางที่ 5 ความหมาย และที่มาของตัวแปรในแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค
-ตารางที่ 6 พยากรณ์ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงาน
-ตารางที่ 7 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้นแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 8 พยากรณ์ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศ
-ตารางที่ 9 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้นแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 10 พยากรณ์ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากต่างประเทศ
-ตารางที่ 11 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีรายได้ของประเทศคู่ค้าที่สำคัญสูงขึ้นแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง และให้ตัวแปรภายนอกอื่นคงที่เท่ากับไตรมาสสุดท้าย
-ตารางที่ 12 พยากรณ์ผลกระทบจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้น และรายได้จากต่างประเทศสูงขึ้น
-ตารางที่ 13 ค่าพยากรณ์ผลกระทบของกรณีราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้น และรายได้ของประเทศคู่ค้าที่สำคัญสูงขึ้น แต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังบวกหนึ่งค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และให้ตัวแปรภายนอกอื่นเปลี่ยนแปลงแต่ละไตรมาสเท่ากับอัตราเติบโตเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง
-ตารางที่ 14 พยากรณ์ผลกระทบจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยต่างประเทศสูงขึ้น และรายได้จากต่างประเทศลดลง
ปก
บทคัดย่อ
Abstract
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
-ความสำคัญของปัญหา
-วัตถุประสงค์ของการวิจัย
-สมมติฐานของการวิจัย
-ขอบเขตของการวิจัย
--ขอบเขตเนื้อหา
--ขอบเขตเวลา
-ข้อจำกัดของการวิจัย
-นิยามศัพท์เฉพาะ
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้
บทที่ 2 แนวคิดทางทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
-แนวคิดทางทฤษฎี
-วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
-แบบจำลอง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
-รูปแบบการวิจัย
-ประเภทของข้อมูล
-วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
-ประเภทของตัวแปร
-วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
-ขั้นตอนของการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์
-ข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1
-ข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
-สรุปข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัย
-อภิปรายผลการวิจัย
-ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
-ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
ภาคผนวก
หน่วยงานที่ให้ทุน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี