เรียกดู
รายการที่เพิ่มล่าสุด
รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาสุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล และคณะ; กระทรวงยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2551-07)ปก รายนามคณะผู้วิจัย คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมา/ความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 สมมุติฐานการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 ขอบเขตของการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ข้อความคิดเกี่ยวกับการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -2.1 ระบบการตรวจสอบถ่วงดุล --2.1.1 ที่มาและแนวคิดของการใช้อำนาจรัฐ --2.1.2 การตรวจสอบและจำกัดการใช้อำนาจรัฐ --2.1.3 การตรวจสอบถ่วงดุลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย -2.2 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา --2.2.1 วัตถุประสงค์ของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา --2.2.2 องค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา --2.2.3 อำนาจหน้าที่ขององค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -2.3 การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา --2.3.1 ประเภทของการตรวจสอบถ่วงดุล --2.3.2 กลไกการตรวจสอบถ่วงดุล -2.4 มาตรฐานสากลเกี่ยวกับการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา --2.4.1 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) --2.4.2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant of Civil and Political Rights) --2.4.3 กฎมาตรฐานขั้นต่ำของการปฏิบัติต่อนักโทษ --2.4.4 หลักการเพื่อการคุ้มครองบุคคลทุกคนที่ถูกคุุมขังหรือจำคุก --2.4.5 อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการกระทำทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่เป็นการทารุณโหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือลดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ --2.4.6 ประมวลระเบียบการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย --2.4.7 หลักพื้นฐานว่าด้วยความเป็นอิสระของศาล --2.4.8 หลักการเพื่อการคุ้มครองบุคคลทุกคนที่ถูกขังหรือจำคุก --2.4.9 แนวทางว่าด้วยบทบาทของอัยการ --2.4.10 กฎมาตรฐานขั้นต่ำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยมาตรการไม่ควบคุมตัว (กฎโตเกียว) บทที่ 3 การสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาต่อการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -3.1 วัตถุประสงค์ของการสำรวจ -3.2 ประชากรเป้าหมาย -3.3 พื้นที่ที่ใช้สำรวจ -3.4 วิธีการสุ่มตัวอย่าง -3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ภาคที่ 1 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางอาญา บทที่ 4 การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางอาญาชั้นเจ้าพนักงาน -4.1 ชั้นการสอบสวน --4.1.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --4.1.2 การดำเนินคดีกับผู้เป็นเด็กหรือเยาวชน --4.1.3 การชันสูตรพลิกศพ --4.4.4 การทำแผนประทุษกรรมและการตรวจสถานที่เกิดเหตุ -4.2 ชั้นการสั่งคดี บทที่ 5 การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในชั้นศาล -5.1 ความทั่วไป -5.2 หลักการพื้นฐานที่เกี่ยวกับการควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ --5.2.1 หลักประชาธิปไตย --5.2.2 หลักนิติรัฐ -5.3 การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางอาญาชั้นศาล --5.3.1 ขอบเขตในการตรวจสอบ --5.3.2 การตรวจสอบตามกฎหมายไทย --5.3.3 ลักษณะของการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อำนาจชั้นศาล บทที่ 6 การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในชั้นบังคับโทษ -6.1 การเลื่อนและลดชั้นของนักโทษ --6.1.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --6.1.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม -6.2 การลงโทษทางวินัย --6.2.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --6.2.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม -6.3 การพักการลงโทษ --6.3.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --6.3.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม -6.4 การลดวันต้องโทษจำคุก --6.4.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --6.4.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม -6.5 การตรวจเรือนจำ --6.5.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ในกฎหมายไทย --6.5.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม -6.6 การอภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นโทษเบา และลดโทษ --6.6.1 กลไกการตรวจสอบที่มีอยู่ตามกฎหมายไทย --6.6.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติม ภาคที่ 2 ข้อมูลภาคสนามจากการสำรวจความเห็นสาธารณชนเกี่ยวกับการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางอาญา บทที่ 7 ผลสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เรื่อง การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในทางอาญา -7.1 ข้อมูลพื้นฐานในการสำรวจ -7.2 ข้อมูลจากการสำรวจ และการวิเคราะห์ --7.2.1 ประเด็นเรื่องการจับ --7.2.2 ประเด็นเรื่องการตรวจค้น --7.2.3 ประเด็นเรื่องการควบคุม - การขัง --7.2.4 ประเด็นเรื่องการสอบสวน --7.2.5 ประเด็นเรื่องการชันสูตรพลิกศพ --7.2.6 ประเด็นเรื่องการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ --7.2.7 ประเด็นเรื่องการปล่อยตัวชั่วคราว --7.2.8 ประเด็นเรื่องการฟ้องร้องคดี --7.2.9 ประเด็นเรื่องการไต่สวนมูลฟ้อง --7.2.10 ประเด็นเรื่องชั้นพิจารณาพิพากษา --7.2.11 ประเด็นเรื่องชั้นบังคับโทษ --7.2.12 ประเด็นเรื่องกระบวนการยุติธรรมไทยโดยรวม --7.2.13 ประเด็นเรื่องการตรวจสอบถ่วงดุลจากองค์กรภายนอก --7.2.14 ประเด็นเรื่องความเชื่อมั่นศรัทธาในหน่วยงานต่าง ๆ --7.2.15 ประเด็นความเห็นเรื่ององค์กรอิสระเพื่อการตรวจสอบ บทที่ 8 บทวิเคราะห์ -8.1 กระบวนการก่อนการพิจารณาคดี (หรือชั้นเจ้าพนักงาน) --8.1.1 การจับ คุมขัง และตรวจค้นต่อบุคคล --8.1.2 การตรวจสอบการคุมขังบุคคล --8.1.3 การตรวจสอบการค้นของพนักงานสอบสวน --8.1.4 การปล่อยชั่วคราวระหว่างดำเนินคดี --8.1.5 การสอบสวนผู้ต้องหา --8.1.6 การดำเนินคดีกับผู้เป็นเด็กหรือเยาวชน --8.1.7 การชันสูตรพลิกศพ --8.1.8 การทำแผนประทุษกรรมและการตรวจสถานที่เกิดเหตุ --8.1.9 การสั่งคดีของพนักงานอัยการ --8.1.10 การถอนฟ้องของพนักงานอัยการ -8.2 กระบวนการพิจารณาคดี (หรือชั้นศาล) --8.2.1 การตรวจสอบถ่วงดุลภายในองค์กร --8.2.2 การตรวจสอบถ่วงดุลภายนอกองค์กร -8.3 กระบวนการบังคับตามคำพิพากษาและคำสั่ง --8.3.1 การจัดชั้นนักโทษ --8.3.2 การลงโทษทางวินัย --8.3.3 การพักการลงโทษ --8.3.4 การลดวันต้องโทษจำคุก --8.3.5 การตรวจเรือนจำ --8.3.6 การอภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นโทษเบา และลดโทษ บทที่ 9 บทสรุป และ เสนอแนะ -9.1 บทสรุป -9.2 ข้อเสนอแนะ --9.2.1 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติมในทางอาญาชั้นเจ้าพนักงาน --9.2.2 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติมในชั้นศาล --9.2.3 กลไกการตรวจสอบที่ควรเพิ่มเติมในชั้นบังคับโทษ ตาราง -ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามเพศ -ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามอายุ -ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามระดับการศึกษา -ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงาน -ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามภูมิภาค -ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน -ตารางที่ 7 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการจับ -ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการตรวจค้น -ตารางที่ 9 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการควบคุม - การขัง -ตารางที่ 10 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการสอบสวน -ตารางที่ 11 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการชันสูตรพลิกศพ -ตารางที่ 12 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ -ตารางที่ 13 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการปล่อยตัวชั่วคราว -ตารางที่ 14 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการฟ้องคดี -ตารางที่ 15 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการไต่สวนมูลฟ้อง -ตารางที่ 16 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องชั้นพิจารณาพิพากษา -ตารางที่ 17 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องชั้นบังคับโทษ -ตารางที่ 18 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องกระบวนการยุติธรรมไทยโดยรวม -ตารางที่ 19 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องการตรวจสอบถ่วงดุลจากองค์กรภายนอก -ตารางที่ 20 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำแนกตามหน่วยงานที่เป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติและไม่ใช่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในประเด็นเรื่องความเชื่อมั่นศรัทธาในหน่วยงานต่าง ๆ -ตารางที่ 21 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นว่าควรมีหน่วยงานองค์กรอิสระ เพื่อการตรวจสอบเรื่องราวร้องทุกข์ของผู้ที่ได้รับความเสียหายจากคดีอาญา และไม่ได้รับการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามขอบเขตกฎหมาย จำแนกตามหน่วยงานที่สังกัด บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 รายละเอียดกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล -ภาคผนวก 2 แบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา2551-07รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ โครงการตะวันออกกลางศึกษา (Middle East Monitoring Project-MEMP) รายงานการประมวลสรุป วิเคราะห์และสังเคราะห์ เหตุการณ์และแนวโน้มด้านต่าง ๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ในรอบเดือน พฤษภาคม 2550 หรือ รายงาน "Update" ฉบับที่ 10อนุช อาภาภิรม (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2550-06)ปก คำชี้แจง สารบัญ รายงานสถานการณ์และแนวโน้มตะวันออกกลาง -สตรีนิยมอิสลาม: ขบวนการเคลื่อนไหวแห่งอนาคต --1. ความนำ: เรื่องของสตรีนิยม (Feminism) --2. สตรีนิยมในโลกมุสลิมและสตรีนิยมอิสลาม --3. บทสรุปและข้อสังเกต -บรรณานุกรม ประมวลข่าวสถานการณ์และความเคลื่อนไหวตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางการเมืองในตะวันออกกลาง --1. สรุปสถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สรุปสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงในตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านพลังงาน/น้ำมัน --1. สถานการณ์ทั่วไปด้านพลังงานและน้ำมัน --2. สถานการณ์ด้านราคาน้ำมัน --3. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวเชิงภูมิรัฐศาสตร์น้ำมัน --4. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านการผลิตและการค้าน้ำมัน/แก๊ส -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจ --1. ข่าวสถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและการลงทุนในตะวันออกกลาง --3. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านสังคม --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 รายชื่อคณะผู้ดำเนินงานโครงการตะวันออกกลางศึกษา (MEMP) -ภาคผนวก 2 แนะนำโครงการตะวันออกกลางศึกษา2550-06รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ โครงการตะวันออกกลางศึกษา (Middle East Monitoring Project-MEMP) รายงานการประมวลสรุป วิเคราะห์และสังเคราะห์ เหตุการณ์และแนวโน้มด้านต่าง ๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ในรอบเดือน กันยายน 2550 หรือ รายงาน "Update" ฉบับที่ 14อนุช อาภาภิรม (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2550-10)ปก คำชี้แจง สารบัญ รายงานสถานการณ์และแนวโน้มตะวันออกกลาง -ขบวนการภราดรภาพมุสลิม: จะรวมชาติอาหรับได้หรือไม่ --1. บทนำ: ขบวนการภราดรภาพมุสลิมกับลัทธิเคมาล --2. แนวคิดทฤษฎี การจัดตั้ง และการเคลื่อนไหวของขบวนการ --3. ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง --4. สถานการณ์ปัจจุบันของภราดรภาพมุสลิม --5. บทลงท้าย: ขบวนการนี้จะรวมชาติอาหรับได้หรือไม่ -บรรณานุกรม ประมวลข่าวสถานการณ์และความเคลื่อนไหวตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางการเมืองในตะวันออกกลาง --1. สรุปสถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สรุปสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงในตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านพลังงาน/น้ำมัน --1. สถานการณ์ทั่วไป --2. สถานการณ์ราคาน้ำมันและความเคลื่อนไหวของโอเปค --3. ความเคลื่อนไหวในอิรัก --4. ความเคลื่อนไหวภูมิรัฐศาสตร์ด้านน้ำมัน -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจ --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สถานการณ์และคาดการณ์ทางเศรษฐกิจในตะวันออกกลาง --3. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านการลงทุน -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านสังคม --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านสังคมทั่วไป --2. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน --3. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านการศึกษา --4. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านสาธารณสุข ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 รายชื่อคณะผู้ดำเนินงานโครงการตะวันออกกลางศึกษา (MEMP) -ภาคผนวก 2 แนะนำโครงการตะวันออกกลางศึกษา2550-10รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ โครงการตะวันออกกลางศึกษา (Middle East Monitoring Project-MEMP) รายงานการประมวลสรุป วิเคราะห์และสังเคราะห์ เหตุการณ์และแนวโน้มด้านต่าง ๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ในรอบเดือน ตุลาคม 2550 หรือ รายงาน "Update" ฉบับที่ 15อนุช อาภาภิรม (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2550-11)ปก คำชี้แจง สารบัญ รายงานสถานการณ์และแนวโน้มตะวันออกกลาง -การรื้อฟื้นอิสลาม: นักคิดนักเคลื่อนไหวในกระแสโลกาภิวัฒน์ --1. บทนำ: การรับมือกับการคุกคาม --2. นักคิดและนักเคลื่อนไหวบางคน --3. บทสรุป บรรณานุกรม ประมวลข่าวสถานการณ์และความเคลื่อนไหวตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางการเมืองในตะวันออกกลาง --1. สรุปสถานการณ์และความเคลื่อนไหวทั่วไป --2. สรุปสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงในตะวันออกกลาง -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านพลังงาน/น้ำมัน --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านพลังงานทั่วไป --2. สถานการณ์ราคาน้ำมัน --3. สถานการณ์การผลิตน้ำมันโลก --4. ความเคลื่อนไหวน่าสนใจ -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจ --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจสทั่วไป --2. สถานการณ์และวิเคราะห์คาดการณ์ทางเศรษฐกิจ --3. ความเคลื่อนไหวเศรษฐกิจโลกอิสลาม --4. ความเคลื่อนไหวอื่น ๆ -สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านสังคม --1. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางสังคมทั่วไป --2. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวด้านการศึกษา --3. สถานการณ์และความเคลื่อนไหวทางสังคมด้านอื่น ๆ ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 รายชื่อคณะผู้ดำเนินงานโครงการตะวันออกกลางศึกษา (MEMP) -ภาคผนวก 2 แนะนำโครงการตะวันออกกลางศึกษา2550-11รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการสร้างองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปการเมือง (Preparing Knowledge for Political Reform)สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์, และคณะ; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2550-07)ปก บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 หลักการและเหตุผล -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 ขอบเขตและแนวทางการดำเนินงาน -1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ -1.5 ระยะเวลาในการศึกษา -1.6 ผลการดำเนินการ --1.6.1 สำรวจงานวิจัย ผลการศึกษาและงานเขียนในการปฏิรูปการเมือง --1.6.2 การประชุมรับฟังปัญหาจากกลุ่มภาคประชาชน --1.6.3 การประชุมระดมสมองหรือสัมภาษณ์อย่างเข้มข้นกับผู้เชี่ยวชาญ-ผู้นำทางความคิด --1.6.4 การประชุมระดมสมองภายในคณะผู้วิจัย --1.6.5 รายงานสรุปผลการศึกษา --1.6.6 การจัดทำเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่สาธารณะ --1.6.7 การจัดเสวนาระดมสมองกับผู้เชี่ยวชาญ-ผู้นำทางความคิด บทที่ 2 ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปการเมือง -2.1 ข้อเสนอว่าด้วยสถาบันการเมือง -2.2 ข้อเสนอว่าด้วยองค์กรอิสระ -2.3 ข้อเสนอว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพ และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน -2.4 ข้อเสนอว่าด้วยมาตรการหนุนเสริมเพื่อการปฏิรูปการเมือง บทที่ 3 โจทย์ในการวิจัยต่อไป -3.1 ที่มาและคุณสมบัติของผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ และกระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจขององค์กรอิสระแต่ละแห่ง -3.2 การปฏิรูประบบยุติธรรม -3.3 การปฏิรูปการเมืองท้องถิ่น และการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น -3.4 การปฏิรูปเศรษฐกิจ -3.5 การศึกษาวิจัยเรื่องการปฏิรูปการเมืองโดยการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวกที่ 1 การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน -ภาคผนวกที่ 2 รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 72 คน -ภาคผนวกที่ 3 สรุปการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ -ภาคผนวกที่ 4 ตารางสรุปการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ2550-07รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการผลกระทบของการค้าชายแดนภาคเหนือจากข้อตกลงจัดตั้งเขตการค้าเสรี (Free Trade Area)นิสิต พันธมิตร (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2550-07)ปก กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ABSTRACT Executive Summary สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ปัญหาที่ทำการวิจัย และความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับ -1.4 นิยามศัพท์ -1.5 ระเบียบวิธีวิจัย -1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 สภาพพื้นที่ชายแดนในภาคเหนือตอนบน -2.1 ลักษณะทั่วไป -2.2 โครงสร้างเศรษฐกิจภาคเหนือ -2.3 การค้าต่างประเทศของภาคเหนือตอนบน -2.4 การค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน -2.5 เส้นทางการค้าชายแดน บทที่ 3 การค้าชายแดนด้านจังหวัดเชียงราย -3.1 ประวัติจังหวัดเชียงราย -3.2 ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย -3.3 การค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย -3.4 จุดการค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย บทที่ 4 การค้าชายแดนด้านอำเภอแม่สาย -4.1 ประวัติความเป็นมาของอำเภอแม่สาย -4.2 สภาพทั่วไปของอำเภอแม่สาย -4.3 ช่องทางการติดต่อการค้ากับประเทศสหภาพพม่า -4.4 พัฒนาการรูปแบบทางการค้าชายแดน -4.5 สภาพการค้าชายแดนด้านอำเภอแม่สายในปัจจุบัน -4.6 วิถีการค้าชายแดนด้านอำเภอแม่สาย -4.7 อัตราแลกเปลี่ยนและการชำระเงิน -4.8 รูปแบบการชำระเงินของการค้าชายแดนไทย-พม่าด้านอำเภอแม่สาย บทที่ 5 การค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงแสน -5.1 ประวัติความเป็นมาของอำเภอเชียงแสน -5.2 สภาพทั่วไปของอำเภอเชียงแสน -5.3 พัฒนาการการค้าชายแดนอำเภอเชียงแสน -5.4 สภาพการค้าชายแดนอำเภอเชียงแสนในอดีตถึงปัจจุบัน -5.5 วิถีการตลาดการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ด้านอำเภอเชียงแสน -5.6 รูปแบบการส่งออกของพ่อค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงแสน -5.7 รูปแบบการนำเข้าของพ่อค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงแสน -5.8 เส้นทางการค้าชายแดนไทย - จีนตอนใต้ด้านอำเภอเชียงแสน -5.9 รูปแบบการชำระเงินการค้าชายแดนไทย - จีนตอนใต้ บทที่ 6 การค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงของ -6.1 ประวัติความเป็นมาของอำเภอเชียงของ -6.2 ลักษณะทั่วไป -6.3 เส้นทางการค้าชายแดนไทย-ลาวด้านอำเภอเชียงของ -6.4 สภาพเศรษฐกิจของอำเภอเชียงของ -6.5 สภาพการค้าชายแดนของอำเภอเชียงของ -6.6 วิถีการค้าชายแดนอำเภอเชียงของ บทที่ 7 วิถีการค้าและเส้นทางการขนส่งระหว่างไทย-จีนตอนใต้ -7.1 บทนำ -7.2 จุดการค้าสำคัญของการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ -7.3 การขนส่งสินค้าชายแดนระหว่างไทย-จีนตอนใต้ -7.4 เส้นทางคมนาคมทางบก -7.5 เส้นทางคมนาคมทางน้ำ -7.6 ปัญหาและอุปสรรคของการค้าชายแดนไทย-จีนในแม่น้ำโขง -7.7 สถานภาพของการขนส่งในปัจจุบัน -7.8 ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าระหว่างไทย-จีนตอนใต้ -7.9 สถานการณ์เส้นทางการขนส่งสินค้าจากไทยสู่จีนตอนใต้ปัจจุบัน บทที่ 8 ผลกระทบของการค้าชายแดนภาคเหนือจากข้อตกลงจัดตั้งการค้าเสรี (Free Trade Area : กรณีความตกลงเร่งลดภาษีผักและผลไม้ระหว่างไทย-จีน (Early Harvest) -8.1 ความเป็นมาของการเปิดเขตการค้าเสรีไทย-จีน -8.2 กรอบข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างอาเซียนจีน และข้อตกลงทวิภาคี (Bilateral Agreement) ระหว่างไทย-จีน -8.3 สภาพการค้าสินค้าผักผลไม้ระหว่างไทย-จีน -8.4 ผลกระทบการเปิด FTA ต่อสภาพการค้าชายแดนภาคเหนือไทย-จีน รอบ 3 ปี (2546-2548) -8.5 สินค้านำเข้า/ส่งออกไทย-จีน ในรอบ 3 ปี FTA (2546-2548) -8.6 สถานการณ์การค้าผักผลไม้ระหว่างภาคเหนือของไทยกับจีนตอนใต้ บทที่ 9 ผลกระทบของข้อตกลงการค้าเสรีที่มีต่อผู้ประกอบการการค้าชายแดนและเกษตรกร -9.1 ผู้ประกอบการค้าชายแดน -9.2 เกษตรกร -9.3 ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์เกษตรกร บทที่ 10 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -10.1 การค้าชายแดนภาคเหนือตอนบน -10.2 ผลกระทบของการค้าชายแดนภาคเหนือจากข้อตกลงจัดตั้งการค้าเสรี (Free Trade Area : กรณีความแตกต่างเร่งลดภาษีผักและผลไม้ระหว่างไทย-จีน (Early Harvest) -10.3 ข้อจำกัดในการศึกษา -10.4 ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 จุดผ่านแดนและการค้าชายแดน -ภาคผนวก 2 จุดผ่านแดนบริเวณชายแดนด้านพม่า -ภาคผนวก 3 ท่าเรือเชียงแสน -ภาคผนวก 4 ข้อตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน -ภาคผนวก 5 ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือพาณิชยในแม่น้ำล้านช้าง-แม่โขง ระหว่างรัฐบาลแห่งสาธารณะรัฐประชาชนจีน สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว -ภาคผนวก 6 สถิติสินค้านำเข้าและส่งออก ณ ท่าเรือเชียงแสน ปีงบประมาณ 2548 สารบัญตาราง -ตารางที่ 1.1 สถิติมูลค่าการค้าชายแดนด้านจังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 1.2 การค้าชายแดนของภาคเหนือ -ตารางที่ 1.3 สัดส่วนของการค้าชายแดนที่ผ่านด่านศุลกากรต่าง ๆ ในภาคเหนือ -ตารางที่ 2.2 การค้าระหว่างประเทศที่ผ่านด่านศุลกากรภาคเหนือ -ตารางที่ 2.3 สัดส่วนของการค้าระหว่างประเทศที่ผ่านด่านศุลกากรในภาคเหนือ -ตารางที่ 2.4 อัตราการเติบโตของการค้าระหว่างประเทศที่ผ่านด่านศุลกากรในภาคเหนือ -ตารางที่ 2.5 มูลค่าการค้าชายแดนภาคเหนือตอนบน -ตารางที่ 2.6 สัดส่วนการค้าชายแดนที่ผ่านด่านศุลกากรต่าง ๆ ในภาคเหนือ -ตารางที่ 2.7 มูลค่าการค้าชายแดนในภาคเหนือตอนบน -ตารางที่ 2.8 สัดส่วนของมูลค่าการค้าชายแดนที่ผ่านด่านศุลกากรต่าง ๆ ในภาคเหนือ -ตารางที่ 2.9 อัตราการเติบโตของดุลการค้าและมูลค่าชายจแดนในภาคเหนือตอนบน -ตารางที่ 3.1 ผลิตภัณฑ์รวมตามราคาของตลาดของจังหวัดเชียงราย (GPP at current prices) -ตารางที่ 3.2 อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์จังหวัดเชียงรายตามราคาปัจจุบัน -ตารางที่ 3.3 ผลิตภัณฑ์จังหวัดเชียงรายตามราคาปี 2561 -ตารางที่ 3.4 อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์จังหวัดเชียงรายตามราคาปี 2531 -ตารางที่ 3.5 อัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์จังหวัดมวลรวม (Gross Provincial Product GPP) จำแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2540-2547 -ตารางที่ 3.6 รายได้เฉลี่ย (Per capita income) ของ 17 จังหวัดภาคเหนือ -ตารางที่ 3.7 สถิติการจับกุมสินค้าลักลอบนำเข้าของด่านศุลกากรในพื้นที่จังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 3.8 มูลค่าการค่าชายแดนของจังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 3.9 อัตราการแลกเปลี่ยนของมูลค่าการค่าชายแดนของจังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 3.10 มูลค่าการค้าแยกตามรายประเทศของจังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 4.1 มูลค่าสินค้านำเข้า-ส่งออกผ่านด่านศุลกากรแม่สาย ปีงบประมาณ 2539-2548 -ตารางที่ 4.2 สถิติการนำเข้า/ส่งออก 10 อันดับแรกปีงบประมาณ 2548 -ตารางที่ 4.3 ผู้ส่งออกผ่านด่านชายแดนอำเภอแม่สาย -ตารางที่ 4.4 ผู้นำเข้าผ่านด่านชายแดนอำเภอแม่สาย -ตารางที่ 4.5 มูลค่าการส่งออกและความถี่ในการซื้อสินค้า -ตารางที่ 4.6 ค่าใช้จ่ายการขนส่งสินค้า -ตารางที่ 5.1 มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกไทย-จีนตอนใต้ด้านอำเภอเชียงแสน ปี 2541-2548 -ตารางที่ 5.2 ดุลการค้าและมูลค่าการค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงแสน ปี 2541-2548 -ตารางที่ 5.3 สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้านด้านเอำเภอเชียงแสน ปี 2541-2548 -ตารางที่ 5.4 อัตราการขยายตัวของการค้าชายแดนไทย-จีนตอนด้านอำเภอเชียงแสน -ตารางที่ 5.5 มูลค่าการค้าไทย-จีนตอนใต้ ผ่านด่านศุลกากรเชียงแสน -ตารางที่ 5.6 ปริมาณของแอปเปิลในมลฑณต่าง ๆ ของจีนปี 2545 -ตารางที่ 5.7 ปริมาณของสาลี่ในมลฑณต่าง ๆ ของจีนปี 2545 -ตารางที่ 5.8 มูลค้าสินค้า FTA นำเข้า ณ ด่านศุลกากรเชียงแสน -ตารางที่ 5.9 สินค้านำเข้า-ส่งออก 10 อันดับ ณ ด่านศุลกากรเชียงแสน -ตารางที่ 5.10 โครงสร้างผู้ส่งออกสินค้าผ่านด่านชายแดนในภาคเหนือ -ตารางที่ 5.11 ผู้ส่งออกจำแนกตามมูลค่าการส่งออก -ตารางที่ 5.12 ความถี่และมูลค่าการส่งออกสินค้า -ตารางที่ 5.13 ระยะเวลาการส่งมอบสินค้าถึงเมืองปลายทางในจีน -ตารางที่ 5.14 โครงสร้างผู้นำเข้าสินค้าผ่านด่านชายแดนในภาคเหนือ -ตารางที่ 5.15 ผู้นำเข้าจำแนกตามมูลค่าการนำเข้า -ตารางที่ 5.16 ระยะเวลาการรับมอบสินค้าจากเมืองต้นทางในจีน -ตารางที่ 6.1 การค้าชายแดนไทย-ลาวด้านอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 6.2 อัตราการเติบโตของมูลค่าการค้าชายแดนไทย-ลาวด้านอำเภอเชียงของ -ตารางที่ 6.3 แสดงมูลค่าสินค้านำเข้าส่งออกกับประเทศ สปป.ลาว ด้านจังหวัดเชียงราย 10 อันดับ ปี 2546 -ตารางที่ 6.4 สินค้านำเข้าจาก สปป.ลาว 10 อันดับ ระหว่างเดือน มกราคม-ธันวาคม 2547 -ตารางที่ 6.5 สินค้าส่งออกสู่ สปป.ลาว 10 อันดับ ระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2547 -ตารางที่ 6.6 ท่าเรือเชียงของ-ท่าเรือจิ่งหง -ตารางที่ 7.1 สถานะภาพของเขื่อนต่าง ๆ ในโครงการของจีน -ตารางที่ 7.2 ปฏิทินการเปิดน้ำในเขื่อนของจีนเดือนธันวาคม 2548-มิถุนายน 2549 -ตารางที่ 7.3 ระยะทางและเวลาเดินเรือสินค้าระหว่างไทยกับมณฑลยูนนาน (โดยประมาณ) -ตารางที่ 7.4 สถิติปริมาณเรือ รถบรรทุก และปริมาณสินค้า เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2548 และ 2549 ณ ท่าเรือเชียงแสน -ตารางที่ 7.5 ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า -ตารางที่ 8.1 การลดภาษีสินค้าในสินค้าปกติสำหรับจีนและอาเซียนเดิม 6 ประเด็น -ตารางที่ 8.2 การลดภาษีสินค้าในสินค้าปกติสำหรับอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ (เวียดนาม ลาว เขมร พม่า) และจีน -ตารางที่ 8.3 สรุปกำหนดการเปิดเสรี -ตารางที่ 8.4 มูลค่าการค้าผัก-ผลไม้ไทยจีนช่วงเดือนตุลาคม 2546-กันยายน 2548 -ตารางที่ 8.5 มูลค่าการค้าผัก-ผลไม้ไทย-จีนช่วงเดือนตุลาคม 2546-กันยายน 2548 -ตารางที่ 8.6 สินค้าส่งออกสำคัญจากไทยไปจีน : ตอนที่ 07 (ผัก) -ตารางที่ 8.7 สินค้านำเข้าสำคัญของไทยจากจีน : ตอนที่ 07 (ผัก) -ตารางที่ 8.8 สินค้าส่งออกสำคัญจากไทยไปจีน : ตอนที่ 08 (ผลไม้) -ตารางที่ 8.9 สินค้านำเข้าสินค้าของไทยจากจีน : ตอนที่ 08 (ผลไม้) -ตารางที่ 8.10 มูลค่าการค้าไทย-จีนตอนใต้ปี 2545-2548 -ตารางที่ 8.11 มูลค่าการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ -ตารางที่ 8.12 มูลค่าการค้าชายแดนจากประเทศจีนผ่านท่าเรือเชียงแสน จังหวัดเชียงราย -ตารางที่ 8.13 อัตราการเติบโตของการค้าชายไทย-จีน -ตารางที่ 8.14 การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการค้าชายแดนรายเดือน ปี 2546 -ตารางที่ 8.15 มูลค่าการค้าชายแดนรายเดือนปี 2547 -ตารางที่ 8.16 มูลค่าการค้าชายแดนรายเดือนปี 2548 -ตารางที่ 8.17 รายการสินค้านำเข้า-ส่งออกไทย-จีนประเภทผัก/ผลไม้ 10 อันดับ -ตารางที่ 8.18 รายการสินค้านำเข้า-ส่งออกไทย-จีนประเภทผัก/ผลไม้ 10 อันดับ ของด่านอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ปี 2547 (มกราคม-ธันวาคม) -ตารางที่ 8.19 รายการสิค้านำเข้า-ส่งออกไทย-จีนประเภทผัก/ผลไม้ 10 อันดับ ของด่านอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ปี 2548 (มกราคม-ธันวาคม) -ตารางที่ 8.20 มูลค่าการส่งออกและนำเข้าผักและผลไม้ (07-08) ระหว่างไทย-จีน -ตารางที่ 9.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการค้าชายแดน (n=128) -ตารางที่ 9.2 ประเภทธุรกิจการค้าชายแดน -ตารางที่ 9.3 ประเภทสินค้าของผู้ประกอบการค้าชายแดน (n=128) -ประเทศคู่ค้าของผู้ประกอบการค้าชายแดน (n=128) -ตารางที่ 9.5 ช่องทางการประกอบธุรกิจ (n=128) -ตารางที่ 9.6 การส่งสินค้าออกทางแม่น้ำโขง (n=128) -ตารางที่ 9.7 การส่งสินค้าออกทางรถยนต์ (n=128) -ตารางที่ 9.8 การนำเข้าสินค้าทางแม่น้ำโขง (n=128) -ตารางที่ 9.9 การนำเข้าสินค้าทางรถยนต์ (n=128) -ตารางที่ 9.10 ระยะเวลาการประกอบธุรกิจ (n=126) -ตารางที่ 9.11 ระยะเวลาการดำเนินธุรกิจกับคู่ค้า (n=125) -ตารางที่ 9.12 รูปแบบของการรับ/ชำระเงิน (n=128) -ตารางที่ 9.13 เอกสารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ (n=125) -ตารางที่ 9.14 มูลค่าของสินค้าหรือธุรกิจต่อเดือน (n=127) -ตารางที่ 9.15 การเก็บสินค้าของผู้ประกอบการค้าชายแดน (n=128) -ตารางที่ 9.16 รายได้ของธุรกิจการค้าชายแดน (n=128) -ตารางที่ 9.17 ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร (n=400) -ตารางที่ 9.18 ลักษณะของสินค้าทางการเกษตร -ตารางที่ 9.19 ผู้รับซื้อสินค้าของเกษตรกร (n=400) -ตารางที่ 9.20 ลักษณะการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร (n=400) -ตารางที่ 9.21 ประเทศที่รับซื้อผลผลิตทางการเกษตร (n=400) -ตารางที่ 9.22 รูปแบบการติดต่อกับผู้รับซื้อผลผลิต (n=400) -ตารางที่ 9.23 การกำหนดราคารับซื้อของเกษตรกร (n=400) -ตารางที่ 9.24 แหล่งเงินทุนในการเพาะปลูก (n=400) -ตารางที่ 9.25 ระยะเวลาที่ทำการเกษตร (n=400) -ตารางที่ 9.26 ระยะเวลาที่ค้าขายกับผู้รับซื้อผลผลิต (n=400) -ตารางที่ 9.27 การจ่ายชำระค่าสินค้า (n=400) -ตารางที่ 9.28 รูปแบบของการรับชำระเงิน (n=400) -ตารางที่ 9.29 มูลค่าของผลผลิต (n=400) -ตารางที่ 9.30 การจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (n=400) -ตารางที่ 9.31 รายได้เกษตรกร (n=400) -ตารางที่ 9.32 ปัญหาและอุปสรรคของเกษตรกรภายหลังจากมีข้อตกลง FTA (n=400) -ตารางที่ 9.33 ภาพรวมของปัญหาและอุปสรรคของเกษตรกรภายหลังจากข้อตกลง FTA -ตารางที่ 9.34 ความรู้และความเข้าใจของเกษตรในนโยบายการค้า -ตารางที่ 9.36 การทราบเรื่องการเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) -ตารางที่ 9.37 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ระหว่างไทย-จีน -ตารางที่ 9.38 ผลกระทบของการเปิดการค้าเสรีต่อการผลิตสินค้า -ตารางที่ 9.38 การเปรียบเทียบปริมาณการค้าก่อนและหลังการเปิดเขตการค้าเสรี -ตารางที่ 9.40 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับข้อตกลงการจัดตั้งเขตการค้าเสรี (FTA) (n=400) สารบัญรูป -รูปที่ 3.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย -รูปที่ 3.2 แนวโน้มผลิตภัณฑ์จังหวัดของจังหวัดเชียงราย -รูปที่ 3.3 มูลค่าการค้าชายแดนรวมด้านจังหวัดเชียงรายปี 2535-2548 -รูปที่ 3.4 อัตราการเปลี่ยนแปลงของการค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย -รูปที่ 3.5 แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศของการค้าชายแดนจังหวัดเชียงราย -รูปที่ 4.1 ที่ว่าการอำเภอแม่สาย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2493 -รูปที่ 4.2 พื่้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย -รูปที่ 4.3 สะพานข้ามแม่น้ำสายแห่งที่ 2 -รูปที่ 4.4 ด่านชายแดนแม่สาย -รูปที่ 4.5 ด่านท่าขี้เหล็กของพม่า -รูปที่ 4.6 แสดงมูลค่าสินค้านำเข้า-ส่งออก ปีงบประมาณ 2539-2548 ด่านศุลกากรแม่สาย -รูปที่ 4.7 ตลาดดอยวาว อำเภอแม่สาย -รูปที่ 4.8 กรณีการส่งออกสินค้าที่พ่อค้าชายแดนเป็นผู้รวบรวมสินค้า -ปที่ 4.9 พ่อค้าชายแดนในพื้นที่อำเภอแม่สายทำหน้าที่เป็นคนกลางรวบรวมสินค้า -รูปที่ 4.10 ผู้ผลิตจากส่วนกลาง ดำเนินการติดต่อค้าขายกับคู่ค้าชาวพม่าโดยตรง -รูปที่ 4.11 การจำหน่ายตรงจากร้านค้าในแม่สาย -รูปที่ 4.12 แสดงการชำระเงินค่าสินค้าและรับสินค้าของพ่อค้าออกชายแดนไทย -รูปที่ 4.13 การส่งออกและการรับชำระค่าวัสดุก่อสร้างของผู้ประกอบการ -รูปที่ 4.14 การส่งออกสินค้าของผู้ส่งออกประเทศพม่า -รูปที่ 4.15 สัดส่วนการชำระเงินค่าสินค้าแดนไทย-พม่า -รูปที่ 4.16 การชำระเงินผ่านระบบการหักภาษี -รูปที่ 4.17 การชำระเงินผ่านระบบหักบัญชี -รูปที่ 4.18 การชำระค่าสินค้าด้วยเงินบาท -รูปที่ 4.19 การชำระเงินด้วยการเปิด L/C กรณีพ่อค้านำเข้าสินค้าจากไทย -รูปที่ 4.20 การชำระค่าสินค้าผ่านบัญชีเงินบาททั่วไป -รูปที่ 5.1 มูลค่าการค้าไทย-จีนตอนใต้ ผ่านด่านศุลกากรเชียงแสน -รูปที่ 5.2 แผนที่อาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านและเส้นทางในการขนส่งสินค้า -รูปที่ 5.3 ปริมาณของแอปเปิ้ลในมลฑณต่าง ๆ ของจีนปี 2545 -รูปที่ 5.4 ปริมาณของสาลี่ในมลฑณต่าง ๆ ของจีนปี 245 -รูปที่ 5.5 พ่อค้าชายแดนทำหน้าที่เป็นตัวแทนหรือนายหน้าในการรวบรวมสินค้า -รูปที่ 5.6 พ่อค้าชายแดนในพื้นที่ทำหน้าที่นายหน้า (Broker) -รูปที่ 5.7 ผู้ผลิตจากส่วนกลางดำเนินการติดต่อค้าขายกับคู่ค้าจีนโดยตรง -รูปที่ 5.8 พ่อค้าจีนนำสินค้าเข้ามาขายในไทย และหาซื้อสินค้ากลับจีน -รูปที่ 5.9 แสดงเส้นทางการเดินเรือและขนส่งสินค้าจากเชียงแสนสู่จีนตอนใต้ -รูปที่ 5.10 ผู้นำเข้าไทยเข้าไปรับซื้อสินค้าจากคู่ค้าในประเทศจีนโดยตรง -รูปที่ 5.11 ผู้ส่งออกจีนนำเข้าสินค้าเข้ามาขายโดยตรงที่ฝั่งไทย -รูปที่ 5.12 ตัวแทนขายจากจีน ขนส่งและขายสินค้าให้แก่พ่อค้าไทยชายแดน -รูปที่ 5.13 ผู้นำเข้าไทยจ้างโรงงานผลิตสินค้าในจีน -รูปที่ 5.14 การหักบัญชีคู่ค้า -รูปที่ 5.15 การหักบัญชีระหว่างกลุ่มพ่อค้าหรือจับคู่ชำระเงิน -รูปที่ 5.16 การชำระสินค้าผ่านตลาดแลกเปลี่ยนเงินนอกระบบ -รูปที่ 5.17 การชำระค่าสินค้าด้วยเงินสด -รูปที่ 5.18 การชำระค้าสินค้าด้วยเงินสด (บาทและหยวน) -รูปที่ 5.18 การชำระเงินโดยการเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิต (L/C) -รูปที่ 6.1 เส้นทางการค้าชายแดนด้านอำเภอเชียงของ-เชียงรุ่ง -รูปที่ 6.2 เส้นทางการค้าชายแดนไทย-พม่า-ลาว-จีนตอนใต้ -รูปที่ 6.3 ชายแดนไทยด้านอำเภอเมืองเชียงของ-เมืองห้วยทราย สปป.ลาว -รูปที่ 6.5 ด่านสากลที่เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว ของ ส.ป.ป.ลาว -รูปที่ 6.6 ศักยภาพในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมที่จังหวัดเชียงราย -รูปที่ 6.7 แสดงการค้าชายแดนไทย-ลาวด้านอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย -รูปที่ 6.8 ตลาดจำหน่ายสินค้าจีนที่แขวงบ่อแก้ว (ตลาดไม่ถาวร) -รูปที่ 6.9 ตลาดจำหน่ายสินค้าจีนที่กำลังทำการก่อสร้าง (ตลาดถาวร) -รูปที่ 6.10 จุดขนถ่ายสินค้าบริเวณท่าเทียบเรือเชียงของ (ตุลาคม 2548) -รูปที่ 6.11 การส่งออกจากไทยไป สปป.ลาว อ.เชียงของ-ห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว -รูปที่ 6.12 การนำเข้าสินค้าจาก สปป.ลาว ด้านอำเภอเชียงของ -รูปที่ 7.1 เส้นทางการค้าชายแดนไทย-จีนในอดีต -รูปที่ 7.2 แสดงจุดการค้าและเส้นทางคมนาคมระหว่างภาคเหนือตอนบนและจีนตอนใต้ -รูปที่ 7.3 สภาพเส้นทางช่วงแม่สาย-เชียงตุง-เชียงรุ่ง (จิงหง): R3W -รูปที่ 7.4 ระยะทางจากแม่สาย-คุนหมิง -รูปที่ 7.5 สภาพตลาดเมืองลา ชายแดนพม่า-จีน -รูปที่ 7.6 ด่านตรวจสินค้าท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง -รูปที่ 7.7 สภาพเส้นทางช่วงแม่สาย-เชียงตุง -รูปที่ 7.8 ด่านเก็บค่าผ่านทาง (Toll Gate) เมืองเชียงตุง -รูปที่ 7.9 สภาพชุมชนในเมืองเชียงตุง -รูปที่ 7.10 ทางเข้าตลาดในเมืองเชียงตุง -รูปที่ 7.11 สินค้าที่วางขายในตลาดเชียงตุง -รูปที่ 7.12 สภาพเส้นทางช่วงเชียงตุง-ต้าหลั้ว -รูปที่ 7.13 ด่านชายแดนระหว่างพม่าที่เมืองลากับ จีนที่เมืองต้าล่อ -รูปที่ 7.14 เส้นทางการคมนาคมระหว่างไทย-จีนตอนใต้ -รูปที่ 7.15 สภาพการก่อสร้างเส้นทาง R3E ช่วงที่ 1 -รูปที่ 7.16 สภาพการก่อสร้างเส้นทาง R3E ช่วงที่ 2 -รูปที่ 7.17 ท่าเรือกวนเล่ยของจีน -รูปที่ 7.18 สภาพการขนส่งในแม่น้ำโขงจากจีนมาไทยขาลงใช้ระยะเวลา 1 วัน -รูปที่ 19 การเดินทางขาขึ้นจากไทยไปยังจีนตอนใต้ใช้ระยะเวลา 2 วัน -รูปที่ 20 ท่าเรือจิ่งหง เขตปกครองพิเศษสิบสองปันนา -รูปที่ 7.21 แสดงที่ตั้งท่าเรือในแม่น้ำโขง -รูปที่ 7.22 แนวระเบิดเกาะเก่งในแม่น้ำโขง -รูปที่ 7.23 เขื่อนที่จะสร้างกั้นแม่น้ำโขงตอนบน -รูปที่ 7.24 โครงการพัฒนาเขื่อนในจีน -รูปที่ 7.25 เขื่อนจิงห่งที่กำลังก่อสร้าง -รูปที่ 7.26 การพัฒนาท่าเรือของจีน -รูปที่ 7.27 ระดับน้ำในแม่น้ำโขงที่ท่าเรือเชียงแสน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 -รูปที่ 7.28 ระดับน้ำในแม่น้ำโขง ณ วันที่ 5 เมษายน 2549 -รูปที่ 7.29 ระดับน้ำในแม่น้ำโขง ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2549 -รูปที่ 7.30 ปริมาณการขนส่งผ่านท่าเรือเชียงแสน -รูปที่ 7.31 สภาพของเมืองเฉินก้งที่กำลังมีการสร้างเมืองใหม่ -รูปที่ 7.32 เส้นทางการขนส่งกรุงเทพ-คุนหมิง -รูปที่ 7.33 เส้นทางที่กำลังก่อสร้างช่วงเมืองเชียงรุ่ง-ซือเหมา -รูปที่ 7.34 การขุดเจาะอุโมงค์ช่วงเส้นทางจากเชียงรุ่ง-คุนหมิง -รูปที่ 7.35 เส้นทางหลวง 6 เลนช่วงเมืองซือเหมา-คุนหมิงที่สร้างเสร็จแล้ว -รูปที่ 7.36 เส้นทางที่มุ่งตรงเข้าสู่คุนหมิง -รูปที่ 7.37 เส้นทาง 2 เลนที่มีความลาดชันช่วงเมืองซือเหมา-คุนหมิง -รูปที่ 7.38 (ก) ศูนย์กลางรถบรรทุกอิสระเมืองคุณหมิง -รูปที่ 7.39 (ข) ศูนย์กลางรถบรรทุกอิสระเมืองคุนหมิง -รูปที่ 8.1 มูลค่าการส่งออก นำเข้า และดุลการค้าของไทย ในช่วงเดือนตุลาคม-กันยายน เปรียบเทียบระยะเวลาก่อน FTA-หลัง FTA 1 ปี-หลัง FTA 2 ปี (ตอนที่ 07 ผัก) -รูปที่ 8.2 มูลค่าการส่งออก นำเข้า และดุลการค้าของไทย ในช่วงเดือนตุลาคม-กันยายน เปรียบเทียบระยะเวลาก่อน FTA-หลัง FTA 1 ปี-หลัง FTA 2 ปี (ตอนที่ 08 ผลไม้) -รูปที่ 8.3 มูลค่าการค้าไทย-จีนตอนใต้ปี 2545-2548 -รูปที่ 8.4 มูลค่าการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ -รูปที่ 8.5 อัตราการเติบโตของการค้าชายแดนไทย-จีน -รูปที่ 8.6 มูลค่าการค้าชายแดนรายเดือนปี 2546 -รูปที่ 8.7 เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงของการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ปี 2546 -รูปที่ 8.8 เปรียบเทียบการส่งออก-นำเข้าไทย-จีนตอนใต้ปี 2547 -รูปที่ 8.9 เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงของการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ปี 2547 -รูปที่ 8.10 เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงของการค้าชายแดนไทย-จีนตอนใต้ปี 25482550-07รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสนับสนุนการยกร่างประมวลกฎหมายป่าไม้อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์; ฐิติ กนกทวีฐากร; ณิชมน เมืองใหม่; ฆัณฑรัตน์ ตาณพันธุ์ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2561-07)ปก คำนำ สรุปสำหรับผู้บริหารยกร่างประมวลกฎหมายป่าไม้ บทคัดย่อ Abstract สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมา -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 วิธีดำเนินงาน -1.4 ระยะเวลา บทที่ 2 การดำเนินงานของคณะทำงาน -2.1 คำสั่งตั้งคณะทำงาน -2.2 แนวทางการดำเนินการของคณะทำงาน -2.3 ผลการพิจารณาร่างฯ รายหมวด รายมาตรา --2.3.1 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1/2561 --2.3.2 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2561 --2.3.3 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3/2561 --2.3.4 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4/2561 --2.3.5 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5/2561 --2.3.6 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6/2561 --2.3.7 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7/2561 --2.3.8 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8/2561 --2.3.9 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 9/2561 --2.3.10 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 10/2561 --2.3.11 ผลการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 11/2561 บทที่ 3 การรับฟังความคิดเห็นร่างประมวลกฎหมายป่าไม้ -3.1 กำหนดการรับฟังความคิดเห็น -3.2 ผลการประชุมรับฟังความคิดเห็น -3.3 มติของคณะอนุกรรมการฯ ต่อร่างประมวลกฎหมายป่าไม้และสัตว์ป่า บทที่ 3 การรับฟังความคิดเห็นร่างประมวลกฎหมายป่าไม้-2 บทที่ 3 การรับฟังความคิดเห็นร่างประมวลกฎหมายป่าไม้-32561-07รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ "การศึกษาศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย"ปราโมทย์ ประสาทกุล, และคณะ; มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2559-09)ปก สารบัญ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทคัดย่อภาษาไทย ABSTRACT บทที่ 1 -บทนำ --1.1 ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา --1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ---1.2.1 เพื่อศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลาย ---1.2.2 เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ของศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย ---1.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการปรับปรุงข้อมูลศตวรรษิกชนให้ถูกต้อง บทที่ 2 -วิธีการวิจัย --2.1 การศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรศาสตร์ของกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลาย ---2.1.1 วิธีการศึกษา ---2.1.2 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิที่ใช้ในการศึกษา ---2.1.3 แนวทางวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ --2.2 การศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ของศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย ---2.2.1 การคาดประมาณจำนวนคนร้อยปีในแต่ละจังหวัด (C) ---2.2.2 การหาสัดส่วน RA ---2.2.3 การสํารวจหาจํานวนคนร้อยปีตามทะเบียนราษฎรที่ยังมีชีวิตอยู่ (Rra ) ---2.2.4 วิธีการประเมินอายุของคนอายุ 100 ปีขึ้นไปตามทะเบียนราษฎรว่าอายุถึง 100 ปีจริงหรือไม่ ---2.2.5 วิธีการประเมินสถานะสุขภาพของคนร้อยปี บทที่ 3 -แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรศาสตร์ และสุขภาพของผู้สูงอายุวัยปลาย --3.1 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากรศาสตร์ของผู้สูงอายุวัยปลาย ---3.1.1 ขนาด และการเพิ่มของประชากรสูงอายุวัยปลาย ---3.1.2 โครงสร้างอายุและเพศของผู้สูงอายุวัยปลาย ---3.1.3 ผู้สูงอายุวัยปลายของประเทศอาเซียน --3.2 สถานะสุขภาพของผู้สูงอายุวัยปลาย ---3.2.1 งานศึกษาสถานะสุขภาพของผู้สูงอายุที่ผ่านมา ---3.2.2 การรอดชีพตามรุ่น (Cohort survival) ---3.2.3 การรอดชีพช่วงเวลา (Period survival) ---3.2.4 สุขภาพที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived health) และภาวะปลอดทุพพลภาพ (Disability-free) ---3.2.5 สรุปสถานะสุขภาพของผู้สูงอายุจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ บทที่ 4 -ผลการสํารวจศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย --4.1 การศึกษาเกี่ยวกับศตวรรษิกชน ---4.1.1 สถานการณ์ทั่วไปเกี่ยวกับศตวรรษิกชน ---4.1.2 หน่วยงานหรือศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับศตวรรษิกชน ---4.1.3 ประเด็นการศึกษาศตวรรษิกชนคนร้อยปี --4.2 คนร้อยปีตามทะเบียนราษฎรของประเทศไทย --4.3 ข้อมูลอายุของประชากรตามทะเบียนราษฎร --4.4 ผลการสำรวจคนร้อยปีตามทะเบียนราษฎรที่ยังมีชีวิตอยู่ --4.5 การคาดประมาณคนร้อยปีตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ยังมีชีวิตอยู่ในปี 2558 --4.6 การคาดประมาณคนร้อยปีที่เชื่อว่ามีอายุถึงร้อยปีจริง ---4.6.1 เหตุผลที่เชื่อได้ว่ามีอายุไม่ถึงร้อยปี ---4.6.2 คนร้อยปีที่เชื่อว่ามีอายุถึง 100 ปีจริง ---4.6.3 การคาดประมาณคนร้อยปีของประเทศไทย --4.7 สถานะสุขภาพของคนร้อยปี บทที่ 5 -สรุป อภิปรายผล --5.1 สรุป --5.2 อภิปรายผล ---5.2.1 ผู้สูงอายุวัยปลายเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางที่ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ---5.2.2 การวางแผนนโยบายและวางมาตรการในการเตรียมความพร้อมรับมือกับจำนวนผู้สูงอายุที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรคำนึงถึงระยะเวลาทุพพลภาพก่อนสิ้นอายุขัยของประชากรและแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของช่วงเวลาการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ควบคู่ไปกับความแตกต่างระหว่างเพศ ---5.2.3 ควรมีการวางแผนทางนโยบาย และวางมาตรการในการเพิ่มจำนวนปีที่ปลอดทุพพลภาพ และลดช่วงเวลาของการอยู่ในภาวะทุพพลภาพของผู้สูงอายุวัยปลาย ---5.2.4 คนร้อยปีที่ไม่มีชีวิตหรือไม่มีตัวตนอยู่แล้วเป็นความท้าทายในการจัดเก็บข้อมูลทางทะเบียนราษฎร และควรได้รับการปรับเปลี่ยนเพื่อคัดชื่อออกจากทะเบียน ---5.2.5 ควรนำแนวทางการตรวจสอบอายุจริงของคนร้อยปีมาใช้ประกอบการพิจารณา การประกาศเกียรติคุณต่างๆ ---5.2.6 ควรพัฒนาเครื่องมือประเมินสุขภาพที่เหมาะสมกับคนร้อยปีในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวก ก. ผลจากการวิเคราะห์ข้อทูลทุติยภูมิ -ภาคผนวก ข. ข้อมูลเกี่ยวกับการสำรวจศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย -ภาคผนวก ค. บทความสำหรับการเผยแพร่ -ภาคผนวก ง. ตารางสรุปกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการ สารบัญตาราง -ตาราง 3.1 จำนวนประชากรในกลุ่มอายุสุดท้ายของผู้สูงอายุวัยปลาย พ.ศ. 2503-2583 -ตาราง 3.2 จำนวนประชากรอายุ 80 ปีขึ้นไป และร้อยละการเพิ่มขึ้นต่อปีของประชากรอายุ 80 ปีขึ้นไป -ตาราง 3.3 อัตราเพิ่มของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป และ 80 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2533-2573 -ตาราง 3.4 โอกาสรอดชีพของประชากรที่มีอายุ 60 ปี จนถึงอายุต่างๆ พ.ศ. 2508 2558 และ 2583 -ตาราง 3.5 อัตราส่วนเพศของประชากรสูงอายุวัยปลาย พ.ศ. 2558 2568 และ 2578 -ตาราง 3.6 อัตราส่วนเพศของประชากรสูงอายุวัยปลาย พ.ศ.2533-2583 -ตาราง 3.7 สัดส่วนประชากรสูงอายุวัยปลาย (อายุ80 ปีขึ้นไป) ของประเทศอาเซียนและของประเทศพัฒนาแล้วบางประเทศ พ.ศ. 2558 -ตาราง 3.8 การเสียชีวิตในช่วงเวลา 11 ปี ของตัวอย่างผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยฯ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 จำแนกตามอายุ ณ วันสำรวจและเพศ -ตาราง 3.9 อัตราตายและโอกาสรอดชีพของผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยฯ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 ที่ติดตามการเสียชีวิตในช่วงเวลา 11 ปี: ชาย -ตาราง 3.10 อัตราตายและโอกาสรอดชีพของผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยฯ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 ที่ติดตามการเสียชีวิตในช่วงเวลา 11 ปี: หญิง -ตาราง 3.11 ร้อยละความสมบูรณ์ของการจดทะเบียนตายจากการศึกษาต่าง ๆ -ตาราง 3.12 ค่าประมาณตามแนวโน้มโลจิสติกร้อยละความสมบูรณ์ของการจดทะเบียนตาย พ.ศ. 2547-2557 -ตาราง 3.13 ค่าประมาณร้อยละความสมบูรณ์ของการจดทะเบียนตายรายอายุตั้งแต่ 60 ปี พ.ศ. 2547-2557 -ตาราง 3.15 อัตราตายรายอายุที่ปรับแล้ว พ.ศ. 2547-2557: หญิง -ตาราง 3.16 โอกาสรอดชีพในช่วงวัยสูงอายุจากอายุหนึ่งถึงอีกอายุ ของประชากรสูงอายุชายและหญิง พ.ศ. 2547-2557 -ตาราง 3.17 อายุคาดเฉลี่ยของประชากรสูงอายุชายและหญิง พ.ศ. 2547 2552 และ 2557 -ตาราง 3.18 ร้อยละภาวะสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good health) ที่ปรับแล้ว จากผลการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย จำแนกตามปีสำรวจ อายุ และเพศ -ตาราง 3.19 ร้อยละภาวะทุพพลภาพ (Disability) ที่ปรับแล้ว จากผลการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย จำแนกตามปีสำรวจ อายุ และเพศ -ตาราง 3.20 อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy: LE) ของประชากรสูงอายุ ณ ปีที่ทำการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย -ตาราง 3.21 อายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good helth life expectancy: PGLE) และร้อยละอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย (%PGLE/LE) ของประชากรสูงอายุชาย พ.ศ. 2545 2550 2554 และ 2557 -ตาราง 3.22 อายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good helth life expectancy: PGLE) และร้อยละอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย (%PGLE/LE) ของประชากรสูงอายุหญิง พ.ศ. 2545 2550 2554 และ 2557 -ตาราง 3.23 อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy: LE) อายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดี (Perceived good health life expectancy: PGLE) และ %PGLE/LE จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2557 -ตาราง 3.24 อายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพ (Disability-free life expectancy: DFLE) และร้อยละอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย (%DFLE/LE) ของประชากรสูงอายุชาย พ.ศ. 2545 2550 2554 และ 2557 -ตาราง 3.25 อายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพ (Disability-free life expectancy: DFLE) และร้อยละอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย (%DFLE/LE) ของประชากรสูงอายุหญิง พ.ศ. 2545 2550 2554 และ 2557 -ตาราง 3.26 อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy: LE) อายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพ (Disability-free life expectancy: DFLE) และ %DFLE/LE จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2557 -ตาราง 4.1 จำนวนคนอายุ 100 ปีขึ้นไปตามทะเบียนราษฎร จำแนกตามเพศ และอายุรายปี พ.ศ. 2558 -ตาราง 4.2 จำนวนคนอายุ 100 ปีขึ้นไปตามทะเบียนราษฎร จำแนกตามเพศ และภาค พ.ศ. 2558 -ตาราง 4.3 จำนวนและสัดส่วนคนร้อยปีในประเทศไทย ตามทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2537-2558 -ตาราง 4.4 จำนวนพื้นที่ตัวอย่างที่สำรวจ จำนวนคนร้อยปีในพื้นที่ตัวอย่าง -ตาราง 4.5 จำนวนคนร้อยปีจากการสำรวจทางโทรศัพท์ที่พบว่ายังมีชีวิตอยู่ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2558 -ตาราง 4.6 สัดส่วนคนร้อยปีตามทะเบียนราษฎรที่สำรวจพบว่ายังมีชีวิตอยู่ต่อจำนวนคนร้อยปีตามทะเบียนราษฎร จำแนกตามเพศ กลุ่มอายุ และภาค -ตาราง 4.7 จำนวนคนร้อยปีตามทะเบียนที่ประมาณว่ายังมีชีวิตอยู่ในปี 2558 จำแนกตามเพศ จังหวัด และภาค -ตาราง 4.8 จำนวน และร้อยละของคนร้อยปีที่เชื่อว่ามีอายุถึง 100 ปีจริง พ.ศ. 2558 -ตาราง 4.9 คนที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปตามทะเบียนที่ประมาณว่ายังมีชีวิตอยู่ และเชื่อว่ามีอายุถึง 100 ปีจริง ของประเทศไทย ปี 2558 -ตาราง 4.10 จำนวนคาดประมาณคนร้อยปีในประเทศไทย ปี 2558 รายจังหวัด -ตาราง 4.11 สถานะสุขภาพของคนร้อยปีจำแนกตามความถูกต้องของอายุ -ตาราง 4.12 ร้อยละคนร้อยปีที่เชื่อว่าอายุถึง 100 ปีจริง จำแนกตามค่าคะแนนสถานะสุขภาพในแต่ละกิจวัตรประจำวันทั้ง 5 ด้าน -ตารางผนวก ก.1 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: ชาย -ตารางผนวก ก.2 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: หญิง -ตารางผนวก ก.3 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2547: ชาย -ตารางผนวก ก.4 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2547: หญิง -ตารางผนวก ก.5 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2548: ชาย -ตารางผนวก ก.6 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2548: หญิง -ตารางผนวก ก.7 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2549: ชาย -ตารางผนวก ก.8 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2549: หญิง -ตารางผนวก ก.9 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: ชาย -ตารางผนวก ก.10 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: หญิง -ตารางผนวก ก.11 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2551: ชาย -ตารางผนวก ก.12 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2551: หญิง -ตารางผนวก ก.13 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2552: ชาย -ตารางผนวก ก.14 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2552: หญิง -ตารางผนวก ก.15 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2553: ชาย -ตารางผนวก ก.16 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2553: หญิง -ตารางผนวก ก.17 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: ชาย -ตารางผนวก ก.18 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: หญิง -ตารางผนวก ก.19 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2555: ชาย -ตารางผนวก ก.20 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2555: หญิง -ตารางผนวก ก.21 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2556: ชาย -ตารางผนวก ก.22 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2556: หญิง -ตารางผนวก ก.23 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: ชาย -ตารางผนวก ก.24 ตารางชีพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: หญิง -ตารางผนวก ก.25 โอกาสรอดชีพจากอายุ 60 ปีจนถึงอายุต่าง ๆ ของประชากรชายและหญิง พ.ศ. 2547-2557 -ตารางผนวก ก.26 จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าจะมีชีวิตอยู่ต่อไป ของประชากรชายและหญิง พ.ศ. 2547-2557 -ตารางผนวก ก.27 ร้อยละภาวะสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good health) ก่อนและหลังปรับ จำแนกตามอายุและปีที่สำรวจ: ชาย -ตารางผนวก ก.28 ร้อยละภาวะสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good health) ก่อนและหลังปรับ จำแนกตามอายุและปีที่สำรวจ: หญิง -ตารางผนวก ก.29 ร้อยละภาวะทุพพลภาพ (Disability) ก่อนและหลังปรับ จำแนกตามอายุและปีที่สำรวจ: ชาย -ตารางผนวก ก.30 ร้อยละภาวะทุพพลภาพ (Disability) ก่อนและหลังปรับ จำแนกตามอายุและปีที่สำรวจ: หญิง -ตารางผนวก ก.31 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: ชาย -ตารางผนวก ก.32 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: หญิง -ตารางผนวก ก.33 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: ชาย -ตารางผนวก ก.34 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: หญิง -ตารางผนวก ก.35 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: ชาย -ตารางผนวก ก.36 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: หญิง -ตารางผนวก ก.37 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: ชาย -ตารางผนวก ก.38 ตารางอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: หญิง -ตารางผนวก ก.39 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: ชาย -ตารางผนวก ก.40 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2545: หญิง -ตารางผนวก ก.41 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: ชาย -ตารางผนวก ก.42 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2550: หญิง -ตารางผนวก ก.43 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: ชาย -ตารางผนวก ก.44 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2554: หญิง -ตารางผนวก ก.45 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: ชาย -ตารางผนวก ก.46 ตารางอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2557: หญิง -ภาคผนวก ข. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย --ตารางผนวก ข.1 จำนวนคนร้อยปีในแต่ละจังหวัด จากข้อมูลสำนักบริหารการทะเบียน จำแนกตามเพศ และภาค พ.ศ. 2558 --ตารางผนวก ข.2 จำนวนคนร้อยปีในแต่ละเขตของกรุงเทพมหานคร จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2558 --ตารางผนวก ข.3 จำนวนคนร้อยปีเพศชาย รายอายุ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2558 --ตารางผนวก ข.4 จำนวนคนร้อยปีเพศหญิง รายอายุ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2558 --ตารางผนวก ข.5 จำนวนคนร้อยปีรวมชาย-หญิง รายอายุ จำแนกตามภาค พ.ศ. 2558 --ตารางผนวก ข.6 จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2558 -ภาคผนวก ค. บทความสำหรับการเผยแพร่ -ภาคผนวก ง. ตารางสรุปกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการ สารบัญรูป -รูป 3.1 พีระมิดประชากรสูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) พ.ศ.2558 2568 และ 2578 -รูป 3.2 ไดอะแกรมแสดงขั้นตอนการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อศึกษาการรอดชีพของผู้สูงอายุ -รูป 3.3 จำนวนผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยฯ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 จำนวนและร้อยละการเสียชีวิตในช่วงเวลา 11 ปี จำแนกตามอายุ ณ วันสำรวจ -รูป 3.4 อัตราตายและโอกาสรอดชีพของผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยฯ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 ที่ติดตามการเสียชีวิตในช่วงเวลา 11 ปี จำแนกตามเพศ -รูป 3.5 ร้อยละความสมบูรณ์ของการจดทะเบียนตายที่ประมาณด้วยเส้นโค้งโลจิสติก -รูป 3.6 อัตราตายรายอายุตั้งแต่ 60 ปี ของชาย พ.ศ. 2547 และ 2557 เปรียบเทียบก่อนและหลังปรับด้วยวิธีของโคล-กิสเกอร์ -รูป 3.7 อัตราตายรายอายุตั้งแต่ 60 ปี ของหญิง พ.ศ. 2547 และ 2557 เปรียบเทียบก่อนและหลังปรับด้วยวิธีของโคล-กิสเกอร์ -รูป 3.8 ร้อยละภาวะสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเอง (Perceived good health) ก่อนและหลังปรับ พ.ศ. 2545 (รูปซ้าย) และ พ.ศ. 2557 (รูปขวา) -รูป 3.9 ร้อยละภาวะทุพพลภาพ (Disability) ก่อนและหลังปรับ พ.ศ. 2545 (รูปซ้าย) และ พ.ศ. 2557 (รูปขวา) -รูป 3.10 ร้อยละอายุคาดเฉลี่ยอย่างมีสุขภาพดีที่ประเมินด้วยตนเองเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย(%PGLE/LE) ที่อายุ 60 80 และ 100 ปี เปรียบเทียบระหว่างเพศและปีสำรวจ -รูป 3.11 ร้อยละอายุคาดเฉลี่ยที่ปลอดทุพพลภาพเมื่อเทียบกับอายุคาดเฉลี่ย (%DFLE/LE) ที่อายุ 60 80 และ 100 ปี เปรียบเทียบระหว่างเพศและปีสำรวจ2559-09รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ "ประมวลองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการลดคอร์รัปชั่น"เดือนเด่น นิคมบริรักษ์, และคณะ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2560-06)ปก บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary บทคัดย่อ สารบัญ บทนำ บทที่ 1 ขอบเขตและกระบวนการศึกษา บทที่ 2 การทบทวนงานวิจัยด้านคอร์รัปชันและธรรมาภิบาล -2.1 ฐานข้อมูลงานวิจัยออนไลน์ของ สกว. -2.2 ผลการสำรวจงานวิจัย บทที่ 3 ประมวลและสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยของ สกว. -3.1 การผูกขาดอำนาจการเมืองและธุรกิจ --3.1.1. การผูกขาดอำนาจการเมือง ระบบพวกพ้องและการแสวงหาผลประโยชน์ --3.1.2. การผูกขาดทางเศรษฐกิจ กรณีรัฐวิสาหกิจและการให้สัมปทานเอกชน -3.2 อำนาจการใช้ดุลยพินิจ --3.2.1. ดุลยพินิจขององค์กรกำกับดูแลตลาด และการแทรกแซงของกลุ่มผลประโยชน์ --3.2.2. ดุลยพินิจการจัดซื้อจัดจ้าง --3.2.3. ดุลยพินิจในกระบวนการยุติธรรม -3.3 การตรวจสอบรัฐ --3.3.1 การตรวจสอบภายในองค์กร --3.3.2 รัฐสภา --3.3.3 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ --3.3.4 ภาคประชาชน และเครื่องมือตรวจสอบรัฐ --3.3.5 ปัจจัยสนับสนุนการตรวจสอบรัฐ -3.4 บทสรุป --การผูกขาด --การใช้ดุลยพินิจ --ระบบตรวจสอบรัฐ บทที่ 4 บทสำรวจแนวโน้มประเด็นคอร์รัปชันและธรรมาภิบาลที่สำคัญ -4.1 ฐานข้อมูลกรณีการทุจริตคอร์รัปชัน --4.1.1 แหล่งข้อมูล --4.1.2 วิธีการคัดเลือกกรณีทุจริตเพื่อใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ -4.2 วิธีการศึกษา --4.2.1 ช่วง พ.ศ. 2530–2539 (ยุคเศรษฐกิจฟองสบู่) --4.2.2 ช่วง พ.ศ. 2540 – 2550 (ยุครัฐธรรมนูญฉบับประชาชน) --4.2.3 ช่วง พ.ศ. 2550–2556 (ยุคตุลาการภิวัฒน์) --4.2.4 ช่วง พ.ศ. 2557 ถ- 2559 (ยุครัฐบาลทหาร) -4.3 ภาพรวมและลักษณะของการคอร์รัปชัน -4.4 การทุจริตช่วงปี พ.ศ. 2530 - 2539 -4.5 การทุจริตในช่วงปี พ.ศ. 2540 – 2549 -4.6 การทุจริตช่วงปี พ.ศ. 2550 – 2556 -4.7 การทุจริตช่วง พ.ศ. 2557 - 2559 -4.8 สรุปแนวโน้มประเด็นการทุจริตและปัญหาธรรมาภิบาล --4.8.1 รูปแบบการทุจริต --4.8.2 วิธีการในการต่อต้านการทุจริต บทที่ 5 กฎหมายต่อต้านการทุจริตในประเทศไทย -5.1 กฎหมายควบคุมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ -5.2 กฎหมายกำกับดูแลการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐกับเอกชน -5.3 กฎหมายกำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานรัฐ --5.3.1 กฎหมายกำกับดูแลเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของพนักงานรัฐ --5.3.2 กฎหมายกำกับดูแลการรับสินบนของพนักงานรัฐ --5.3.3 กฎหมายกำกับดูแลการใช้อำนาจโดยมิชอบหรือการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานรัฐ --5.3.4 กฎหมายปราบปรามการร่ำรวยผิดปกติ บทที่ 6 โจทย์วิจัยในอนาคต -6.1 ข้อเสนอแนะสำหรับโจทย์วิจัย -6.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ บรรณานุกรม -กฎหมายและระเบียบราชการ -เอกสารวิชาการภาษาไทย -เอกสารวิชาการต่างประเทศ -เว็บไซต์ข้อมูล ภาคผนวก -ภาคผนวก ก งานวิจัยในฐานข้อมูลออนไลน์ elibrary -ภาคผนวก ข. บัญชีและหมวดเนื้อหาของานวิจัยที่สำรวจ -ภาคผนวก ค. สรุปเนื้อหางานวิจัยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับคอร์รัปชันและธรรมาภิบาล -ภาคผนวก ง. รายชื่อโครงการการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน ปี 2523-2557 -ภาคผนวก จ. พระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 -ภาคผนวก ฉ. เปรียบเทียบเนื้อหาประมวลกฎหมายอาญาและ พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์กรหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 สารบัญตาราง -ตารางที่ 3.1 กรณีจัดซื้อจัดจ้าง 6 กรณีใน นิพนธ์ พัวพงศกร และ คณะ 2554 -ตารางที่ 3.2 รายชื่อองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ -ตารางที่ 3.3 สรุปอุปสรรคในการปฏิบัติงานของ ป.ป.ช. สตง. และ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน -ตารางที่ 4.1 กรณีทุจริตที่สำคัญในกระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม อปท. -ตารางที่ 4.2 การดำเนินคดีเพื่อเอาผิดกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชัน -ตารางที่ 4.3 กรณีทุจริตจัดซื้อจัดจ้างและสัมปทาน พ.ศ. 2540-2549 -ตารางที่ 4.4 ข่าวอื้อฉาวองค์กรอิสระ พ.ศ. 2540-2549 -ตารางที่ 4.5 กรณีทุจริตโครงการแทรกแซงสินค้าเกษตรปี พ.ศ. 2550-2556 -ตารางที่ 4.6 กรณีทุจริตจัดซื้อจัดจ้างปี พ.ศ. 2550-2556 -ตารางที่ 4.7 คดีการทุจริตที่สิ้นสุดแล้วหรือมีคำพิพากษาของศาล -ตารางที่ 4.6 กรณีทุจริตจัดซื้อจัดจ้างปี พ.ศ. 2550-2556 -ตารางที่ 4.7 คดีการทุจริตที่สิ้นสุดแล้วหรือมีคำพิพากษาของศาล -ตารางที่ 5.1 กรณีทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ -ตารางที่ 5.2 กรณีทุจริตเกี่ยวกับการมีผลประโยชน์ทับซ้อนของพนักงานรัฐ -ตารางที่ 5.3 กรณีทุจริตเกี่ยวกับการรับสินบนของพนักงานรัฐ -ตารางที่ 5.4 กรณีทุจริตเกี่ยวกับการใช้อำนาจโดยมิชอบหรือการละเว้นการการปฏิบัติหน้าที่ สารบัญรูป -รูปที่ 1.1 ขอบเขตและขั้นตอนการศึกษา -รูปที่ 1.2 สมการคอร์รัปชันตามแนวคิดของโรเบิร์ต คลิตการ์ด -รูปที่ 2.1 จำนวนงานวิจัยเรื่องคอร์รัปชันและธรรมาภิบาล ช่วงปี พ.ศ. 2539 – พ.ศ. 2560 -รูปที่ 3.1 ผลการสำรวจความเห็นของหัวหน้าครัวเรือนต่อตำรวจ ปี พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2557 -รูปที่ 4.1 กระบวนการคัดเลือก 110 กรณีเด่น -รูปที่ 4.2 แหล่งข้อมูลของ 110 กรณีทุจริต -รูปที่ 4.3 จำนวนกรณีทุจริตจากฐานข้อมูล 110 กรณีทุจริตเด่น -รูปที่ 4.4 กรณีทุจริตจำแนกตามประเภท -รูปที่ 4.5 ลักษณะกรณีทุจริตการบริหารราชการ -รูปที่ 4.6 จำนวนกรณีทุจริตตามกระทรวง -รูปที่ 4.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินคดี ปกหลัง2560-06รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประสบการณ์ของการเปิดเสรีทางการค้าในต่างประเทศ (โครงการ "การมีส่วนร่วมของประชาชนกับกลไกในการลดผลกระทบด้านลบจากการทำความตกลงการค้าเสรี")สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์, และคณะ; มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2549-09)ปก บทสรุปผู้บริหาร EXECUTIVE SUMMARY สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 หลักการและเหตุผล -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 ขอบเขตในการวิจัย -1.4 คณะผู้วิจัย บทที่ 2 ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าต่อสวัสดิการของประเทศ -2.1 การสร้างการค้า -2.2 การเบี่ยงเบนทางการค้า -2.3 ผลของการสร้างการค้าและการเบี่ยงเบนทางการค้าต่อสวัสดิการของประเทศ -2.4 ข้อเสนอแนะทางนโยบาย บทที่ 3 ผลกระทบจากการเปิดเสรีในประเทศภาคีความตกลงการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกาเหนือ (NAFTA) -3.1 ภาพรวม -3.2 ผลกระทบต่อสหรัฐฯ -3.3 ผลกระทบต่อแคนาดา -3.4 ผลกระทบต่อเม็กซิโก -3.5 ปัญหาและข้อขัดแย้งจากการเปิดเสรีทางการค้า: กรณีศึกษา การพิพาททางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และแคนาดาในคดีการค้าไม้เนื้ออ่อน บทที่ 4 ประสบการณ์การเปิดเสรีของประเทศเม็กซิโก: การศึกษาของธนาคารโลก -4.1 ผลกระทบต่อภาครวมเศรษฐกิจของเม็กซิโก -4.2 ผลกระทบต่อภาคเกษตรเม็กซิโก -4.3 ผลกระทบต่อแรงงานเม็กซิโก -4.4 สรุปและบทเรียนจากเม็กซิโก บทที่ 5 ประสบการณ์การเปิดเสรีของประเทศเม็กซิโก: การศึกษาอื่น ๆ -5.1 ผลกระทบต่อภาครวมเศรษฐกิจของเม็กซิโก -5.2 ผลกระทบต่อภาคเกษตรเม็กซิโก -5.3 ผลกระทบต่อแรงงานเม็กซิโก -5.4 บทสรุปผลกระทบต่อเม็กซิโก เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก รายงานการดูงานในประเทศออสเตรเลีย สารบัญรูปและตาราง -รูปที่ 4.1 การส่งออก การนำเข้า และการค้าระหว่างประเทศของเม็กซิโกกับประเทศสมาชิก NAFTA (สหรัฐฯ และแคนาดา) (หน่วย: สัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) -รูปที่ 4.2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากรของประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกาเทียบกับของสหรัฐฯ ปี 1980-2001 -รูปที่ 4.3 ความแตกต่างเชิงสถาบันระหว่างเม็กซิโก สหรัฐฯ และแคนาดา -รูปที่ 4.4 อัตราส่วนของรายได้ต่อหัวของรัฐต่าง ๆ ต่ารายได้ต่อหัวของเมืองหลวง (เม็กซิโกซิตี้) ปี 1940-2000 -รูปที่ 4.5 สหสัมพันธ์ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศที่แท้จริงระหว่างสหรัฐฯ และประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริการช่วง 1981-2001 และ 1991-2001 -รูปที่ 4.6 สหสัมพันธ์ของอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของแคนาดากับประเทศต่าง ๆ -รูปที่ 4.7 ความผันผวนของอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเม็กซิโก -รูปที่ 4.8 อัตราการใช้สิทธิประโยชน์จากความตกลง NAFTA (%) -รูปที่ 4.9 มูลค่าการผลิตสินค้าเกษตรของเม็กซิโก (ตัน) และสัดส่วนของการค้าระหว่างประเทศต่อมูลค่าการผลิตสินค้าเกษตร (ร้อยละ) -รูปที่ 4.10 ค่าจ้างที่แท้จริงของเม็กซิโกต่อสหรัฐ และอัตราการว่างงานของเม็กซิโก -ตารางที่ 2.1 ผลของการทำความตกลงการค้าเสรีฉบับต่าง ๆ ต่อสวัสดิการของประเทศ -ตารางที่ 4.1 สหสัมพันธ์ (correlation) ของการขยายตัวของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ระหว่างสหรัฐและเม็กซิโก -ตารางที่ 4.2 สรุปนโยบายภาคเกษตรของเม็กซิโก2549-09