1.09.01.02 รายงานคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 (พ.ศ. 2551-2554)

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 182
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง : สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขเชิงรุก
    คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 2 (สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า -ตารางที่ 10 สรุปงบประมาณแก้ไขปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ระหว่างปี พ.ศ.2547-2551 -ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลจำนวนผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บในพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 (6 ปี) ปกหลัง -แผนภาพที่ 2 แสดงการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงก่อน และหลังการเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ -แผนภาพที่ 1 กราฟแสดงข้อมูลงบประมาณที่ดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2547-2551 สารบัญแผนภาพ -ตารางที่ 15 แสดงข้อมูลการเลิกกิจการเฉพาะพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ปี 2547-2551 -ตารางที่ 14 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมและอัตราการว่างงานของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2550 -ตารางที่ 13 แสดงข้อมูลการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2545-2550 -ตารางที่ 12 แสดงจำนวนและสัดส่วนประชากรยากจนในห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ -ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบฯ คำนำ คำปรารภของ รายนาม คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 และคณะอนุกรรมาธิการจัดทำรายงานผลการพิจารณาศึกษา ปัญหาความไม่สงบและสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร สารบัญ -รายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่อง สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางการแก้ไขเชิงรุก --1. กรอบอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ --2. การพิจารณาศึกษาปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ --3. ผลการพิจารณาศึกษา -บทที่ 1 บทนำ --1.1 เหตุผลและความจำเป็นในการศึกษา --1.2 วัตถุประสงค์ --1.3 ขอบเขตการศึกษา --1.4 วิธีการศึกษา --1.5 คำจำกัดความที่สำคัญ -บทที่ 2 สภาพพื้นที่โดยรวมของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --2.1 ลักษณะทางกายภาพ ---2.1.1 ที่ตั้งและขนาดของพื้นที่ ---2.1.2 ประชากรและเขตการปกครอง ---2.1.3 ทรัพยากรที่สำคัญ --2.2 สภาพทางเศรษฐกิจ ---2.2.1 การถือครองพื้นที่การผลิต ---2.2.2 สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ --2.3 สภาพทางสังคม ---2.3.1 โครงสร้างประชากรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---2.3.2 ด้านการศึกษา ---2.3.3 ด้านสุขภาพและอนามัย ---2.3.4 เชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม -บทที่ 3 สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --3.1 ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---3.1.1 ความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---3.1.2 พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --3.2 สถานการณ์ความไม่สงบ ---3.2.1 เหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ---3.2.2 เหตุการณ์ความขัดแย้งที่สำคัญเฉพาะกรณี --5.6 ประเด็นท้าทายการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาระยะต่อไป ---5.6.1 การแก้ไขปัญหาความยากจนและปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.6.2 การฟื้นความเชื่อถือศรัทธาต่ออำนาจรัฐในการสร้างความเป็นธรรมและคุ้มครองความปลอดภัยของประชาชนด้วยสันติวิธี ---5.6.3 การขยายโอกาสทางการศึกษาและบูรณาการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวิถีศาสนาและวัฒนธรรมที่หลากหลายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.6.4 ปัญหาฐานเศรษฐกิจที่อ่อนแอและการว่างงานเนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบ --5.7 ศักยภาพ โอกาส และข้อจำกัดในการพัฒนา ---5.7.1 ศักยภาพและโอกาส ---5.7.2 ข้อจำกัดการพัฒนา -บทที่ 6 กรอบแนวคิด และข้อคิดเห็น/เสนอแนะในการแก้ไขปัญหา --6.1 แนวคิดและหลักการสำคัญ ---6.1.1 แนวคิดที่สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ ---6.1.2 หลักการ --6.2 การบูรณาการภารกิจที่สำคัญ ---6.2.1 ภารกิจมิติด้านการพัฒนา ---6.2.2 มิติด้านความมั่นคง ---6.2.3 หลักสำคัญในการบูรณาการ --6.3 ข้อเสนอแนะต่อการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---6.3.1 มิติการพัฒนา ---6.3.2 มิติความมั่นคง ---6.3.3 มิติการบริหารจัดการ --6.4 ปัจจัย/เงื่อนไขความสำเร็จ ---6.4.1 กำหนดให้พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพื้นที่พิเศษ ---6.4.2 การจัดตั้งองค์กรพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีความชัดเจน ---6.4.3 กระทรวงและหน่วยงานรับผิดชอบคัดสรรคนดีที่มีความยึดมั่นแนวทางสันติวิธีมาเป็นผู้ปฏิบัติราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---6.4.4 การให้ความสำคัญกับกระบวนการมรส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ---6.4.5 การดำเนินการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ ---6.4.6 มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาให้มีประสิทธิภาพ --3.3 ลักษณะพิเศษของสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ -บทที่ 4 วิเคราะห์ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ --4.1 วิเคราะห์สาเหตุประเด็นปัญหาที่สำคัญ ---4.1.1 ด้านการเมือง ---4.1.2 ด้านเศรษฐกิจ ---4.1.3 ด้านสังคมและวัฒนธรรม ---4.1.4 ด้านการศึกษา ---4.1.5 ด้านกระบวนการยุติธรรม --4.2 วิเคราะห์เงื่อนไขพื้นฐานของความขัดแย้ง ---4.2.1 เงื่อนไขโดยรวม ---4.2.2 เงื่อนไขความขัดแย้งในประวัติศาสตร์ ---4.2.3 สรุปภาพรวม -บทที่ 5 การดำเนินงานที่ผ่านมา ผลกระทบที่เกิดขึ้น และประเด็นท้าทายการแก้ไขปัญหาในระยะต่อไป --5.1 นโยบายและยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.1.1 ช่วงปี 2547-2548 ---5.1.2 ช่วงปลายปี 2548 ต่อเนื่องในปี 2549 ---5.1.3 ช่วงปี 2550-2551 --5.2 งบประมาณและแผนงานโครงการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.2.1 การแก้ไขปัญหาการก่อความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.2.2 การพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --5.3 โครงการสำคัญ ---5.3.1 แผนงาน/โครงการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนในพื้นที่ ---5.3.2 แผนงาน/โครงการที่ดำเนินการพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --5.4 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---5.4.1 ผลกระทบด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ---5.4.2 ผลกระทบด้านสังคม ---5.4.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ --5.5 บทบาทและท่าทีของต่างประเทศ ---5.5.1 ภาพรวมการแสดงออกของต่างประเทศ ---5.5.2 บทบาทของมิตรประเทศ ---5.5.3 บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ ---3.2.3 กลุ่มขบวนการก่อความไม่สงบ ---6.4.7 กำหนดให้ประชาชนในพื้นที่เป็นศูนย์กลางในการแก้ปัญหา -บรรณานุกรม -ภาคผนวก --- ภาคผนวก ก ภาพประกอบสภาพปัญหาความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ --- ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมของคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ --- ภาคผนวก ค รายนามฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมและระดับผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อประชากรปี 2550 -ตารางที่ 2 แสดงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.)ปี 2550 -ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ปี 2546-2550 -ตารางที่ 4 แสดงภาพรวมประชากรและการศึกษาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.) ปี 2550 -ตารางที่ 5 แสดงจำนวนและสัดส่วนแพทย์ต่อประชากรในพื้นที่ห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.) ปี 2545-2550 -ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลสถิติเหตุการณ์ในแต่ละปี (ปี2540-2546) -ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลลักษณะเหตุรายและความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ -ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลสถิติเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 (6ปี)
    คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนพัฒนาองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555 ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
    คณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (คณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า สารบัญ >ส่วนที่ 1 บทนำ >ส่วนที่ 2 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) >ส่วนที่ 3 การประเมินองค์กรประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553-2555 >ส่วนที่ 4 แผนพัฒนาองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553-2555 >>? แผนพัฒนาองค์การหมวด 1 การนำองค์กร >>? แผนพัฒนาองค์กรหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ >>? แผนพัฒนาองค์กรหมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ เสีย >>? แผนพัฒนาองค์การ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ >>? แผนพัฒนาองค์การหมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล >>? แผนพัฒนาองค์การหมวด 6 การจัดการกระบวนการ >ส่วนที่ 5 การนำแผนพัฒนาองค์กรไปปฏิบัติและติดตามการประเมินผล >>- คำสั่งสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ที่ 1298/2552 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ (PMQA) ลงวันที่ 29 เมษายน 2552 >>- คำสั่งคณะคณะการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ (PMQA) ที่1/2553 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลงวันที่ 4 มกราคม 2553 >>- คำสั่งคณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ (PMQA) ที่2/2553 เรื่อง การแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (เพิ่มเติม) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 >>- คำรับรองการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มิติที่ 4 : มิติด้านพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) >>- อภิธานศัพท์ ปกหลัง
    คณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามแนวทางของภาครัฐ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เล่มที่ 3 รายการปรับลด
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 1 (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า รายการปรับลดร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 สารบัญ >มาตรา 5 สำนักนายกรัฐมนตรี >มาตรา 6 กระทรวงกลาโหม >มาตรา 7 กระทรวงการคลัง >มาตรา 8 กระทรวงการต่างประเทศ >มาตรา 9 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา >มาตรา 10 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ >มาตรา 11 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ >มาตรา 12 กระทรวงคมนาคม >มาตรา 13 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม >มาตรา 14 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร >มาตรา 15 กระทรวงพลังงาน >มาตรา 16 กระทรวงพาณิชย์ >มาตรา 17 กระทรวงมหาดไทย >มาตรา 18 กระทรวงยุติธรรม >มาตรา 19 กระทรวงแรงงาน >มาตรา 20 กระทรวงวัฒนธรรม >มาตรา 21 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี >มาตรา 22 กระทรวงศึกษาธิการ >มาตรา 23 กระทรวงสาธารณสุข >มาตรา 24 กระทรวงอุตสาหกรรม >มาตรา 25 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง >มาตรา 26 หน่วยงานของรัฐสภา >มาตรา 27 หน่วยงานของศาล >มาตรา 28 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ >มาตรา 29 จังหวัดและกลุ่มจังหวัด >มาตรา 30 รัฐวิสาหกิจไทย >มาตรา 31 สภากาชาดไทย >มาตรา 32 กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน ปกหลัง
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เล่มที่ 2 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 1 (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 หมายเหตุ บันทึกหลักการและเหตุผลประกอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 หลักการ เหตุผล ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า"พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554" มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป มาตรา 3 งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้ตั้งเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 2,070,000,000,000บาท จำแนกเป็นรายจ่ายตามที่จะระบุต่อไปในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 งบประมาณรายจ่ายงบกลางในความควบคุมของกระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณให้ตั้งจำนวน 265,763,000,000บาท มาตรา 5 งบประมาณรายจ่ายของสำนักนายกรัฐมนตรีและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 24,358,812,100บาท มาตรา 6 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงกลาโหมและหน่วยงานในกำกับ ให้ตั้งเป็นจำนวน 168,501,828,300บาท มาตรา 7 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงการคลังและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 208,895,905,200บาท มาตรา 8 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงการต่างประเทศ ให้ตั้งเป็นจำนวน 7,469,311,000บาท มาตรา 9 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้ตั้งเป็นจำนวน 7,017,533,100บาท มาตรา 10 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์หน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 9,756,330,300บาท มาตรา 11 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 73,913,577,300บาท มาตรา 12 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงคมนาคมให้ตั้งเป็นจำนวน 80,354,002,200บาท มาตรา 13 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 22,936,793,000บาท มาตรา 14 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 4,400,101,800บาท มาตรา 15 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงพลังงานและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งป็นจำนวน 2,101,448,900บาท มาตรา 16 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 6,899,226,100บาท มาตรา 17 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 230,781,268,600บาท มาตรา 18 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงยุติธรรมให้ตั้งเป็นจำนวน 16,823,738,200บาท มาตรา 19 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงแรงงานให้ตั้งเป็นจำนวน 28,488,568,600บาท มาตรา 20 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงวัฒนธณณมและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 5,119,584,100บาท มาตรา 21 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 8,746,704,500บาท มาตรา 22 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 391,131,879,600บาท มาตรา 23 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานในกำกับให้ตั้งเป็นจำนวน 86,904,510,700บาท มาตรา 24 งบประมาณรายจ่ายของกระทรวงอุตสาหกรรมให้ตั้งเป็นจำนวน 6,368,392,000บาท มาตรา 25 งบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวงให้ตั้งเป็นจำนวน 82,575,551,800บาท มาตรา 26 งบประมาณรายจ่ายของหน่วยงานของรัฐสภาให้ตั้งเป็นจำนวน 9,592,864,400บาท มาตรา 27 งบประมาณรายจ่ายของหน่วยงานของศาลให้ตั้งเป็นจำนวน 14,448,208,200บาท มาตรา 28 งบประมาณรายจ่ายของหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญให้ตั้งเป็นจำนวน 11,403,443,200บาท มาตรา 29 งบประมาณรายจ่ายของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้ตั้งเป็นจำนวน 18,000,000,000บาท มาตรา 30 งบประมาณรายจ่ายของรัฐวิสาหกิจให้ตั้งเป็นจำนวน 115,501,489,700บาท มาตรา 31 งบประมาณรายจ่ายของสภากาชาดไทยให้ตั้งเป็นจำนวน 3,637,321,700บาท มาตรา 32 งบประมาณรายจ่ายของกองทุนและเงินทุนหมุนเวียนให้ตั้งเป็นจำนวน 127,853,543,000บาท มาตรา 33 งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังในความควบคุมของกระทรวงการคลังให้ตังเป็นจำนวน 30,346,062,400บาท มาตรา 34 ให้กระทรวงการคลังมีอำนาจสั่งจ่ายเงินแผ่นดิน ตามรายการและจำนวนเงินที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่สำนักงบประมาณจะได้จัดสรรหรือตามที่จะได้มีการโอนเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย มาตรา 35 ให้นายกรัฐมาตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ปกหลัง
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เล่มที่ 1 (ตอนที่ 3) รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 1 (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า ปกหลัง -3.25 จังหวัดและกลุ่มจังหวัด -3.24 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ -3.23 หน่วยของศาล -3.22 หน่วยงานของรัฐสภา -3.21 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง -3.20 กระทรวงอุตสาหกรรม -3.19 กระทรวงสาธารณสุข -3.18 กระทรวงศึกษาธิการ -3.17 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -3.16 กระทรวงวัฒนธรรม -3.15 กระทรวงแรงงาน -3.14 กระทรวงยุติธรรม -3.13 กระทรวงมหาดไทย -3.12 กระทรวงพาณิชย์ -3.11 กระทรวงพลังงาน -3.10 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร -3.9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -3.8 กระทรวงคมนาคม -3.7 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -3.6 กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ -3.5 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา -3.4 กระทรวงการต่างประเทศ -3.3 กระทรวงการคลัง -3.2 กระทรวงกลาโหม -3.1 สำนักนายกรัฐมนตรี 3. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ของกระทรวงและหน่วยงานต่างๆ 2. การบริหารจัดการงบประมาณ -1.8 ยุทธศาสตร์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -1.7 ยุทธศาสตร์การต่างประเทสและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ -1.6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม -1.5 ยุทธศาสตร์การบริการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก -1.4 ยุทธศาสตร์การจัดการเศรษฐกิจให้ขยายตัวได้อย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน -1.3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และลดความเลื่อมล้ำทางสังคม -1.2 ยุทธศาสตร์การรักษาความมั่นคงขอรัฐ -1.1 ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมั่นของประเทศ 1. นโยบายและภาพรวมการจัดทำงานประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ มาตรา 35 มาตรา 34 มาตรา 33 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง มาตรา 32 กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน มาตรา 31 สภากาชาดไทย มาตรา 30 รัฐวิสาหกิจ มาตรา 29 จังหวัดและกลุ่มจังหวัด มาตรา 28 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 27 หน่วยงานของศาล มาตรา 26 หน่วยงานของรัฐสภา มาตรา 25 ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มาตรา 24 กระทรวงอุตสาหกรรม รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เล่มที่ 1 (ตอนที่3)
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เล่มที่ 1 (ตอนที่ 1) รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 1 (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า ภาพคณะกรรมธการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สภาผู้แทนราษฎร ทำเนียบคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สภาผู้แทนราษฎร ฝ่ายเลขานุการสำนักงานเลขานุการสภผู้แทนราษฎร รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ปกหลัง
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการเดินทางไปศึกษาดูงานเทคโนโลยีด้านพลังงานทางเลือกและสิ่งแวดล้อม ณ ประเทศญี่ปุ่น ของคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาผู้แทนราษฎร ระหว่างวันศุกร์ที่ 8 - วันพุธที่ 13 มกราคม 2553
    ณรงค์ บุณยสงวน; วิดต์ ภัทรยานนท์ (คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาผู้แทนราษฎร, 2553)
    ปกหน้า สารบัญ คำนำ 1. วัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน 2. แผนการศึกษาดูงาน >2.1 กำหนดการ >2.2 รายนามคณะเดินทาง 3. ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน >3.1 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี National Institute of Advanced Industrial Science and Technology >3.2 สถาบันิวิจัยและพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม Hokkaido Industrial Research Institute >3.3 โรงงานกำจัดขยะ Ariake Incineration Plant >3.4 โครงงานปิโตรเคมี Mitsui Chemical Plant >3.5 ศูนย์แสดงผลิตภัณฑ์และเทคโลยี Panasonic Center Tokyo 4. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการพัฒนาประเทศไทย >4.1 การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ >4.2 การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในตการสนับสนุนการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ปกหลัง
    คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง "การดำเนินงานเกี่ยวกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz ของ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)"
    คณะกรรมาธิการสื่อสารและโทรคมนาคม สภาผู้แทนราษฎร; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 1 (สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2552)
    ปกหน้า ปกใน สารบัญ การดำเนินการของคณะกรรมาธิการ วิธีการพิจารณาศึกษา การพิจารณา ประเด็นการพิจารณา สรุปผลการพิจารณาศึกษา ภาคผนวก >สำเนาคำฟ้องคดีหมายเลขดำที่ 5991/2550 >สัญญารับจ้างบริหารช่องทางการจัดจำหน่ายและการจัดการเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz สำหรับผู้รับจ้างบริการหลัก >สัญญาจ้างบริหารให้บริการลูกค้าสัมพันธ์และจัดทำระบบจัดเก็บเงินโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz >หนังสือขอนำส่งเอกสารเกี่ยวกับการชำระหนี้คงค้างให้กับบริษัท สามารถ ไอ-โมบาย จำกัด (มหาชน) >หนังสือขอให้ชะลอและหยุดการชำระเงินและตรวจสอบการทำทุจริต >บันทึกการประชุม คณะกรรมาธิการการสื่อสารฯ ครั้งที่ 13 >บันทึกการประชุม คณะกรรมาธิการสื่อสารฯ ครั้งที่ 16 >บันทึกการประชุม คณะกรรมาธิการการสื่อสารฯ ครั้งที่ 17 >คำสั่งคณะกรรมาธิการการสื่อสารฯ ที่ 4/2551 >บันทึกข้อความนำส่งรายการผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการ >หนังสือสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ข้อมูลประกอบการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการ >หนังสือของนำส่งเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงานโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 1900 MHz ปกหลัง
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ รัฐสภา
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 2 (สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2552)
    ปกหน้า ปกหลัง -ภาคผนวก ฉ. ฝ่ายเลขานุการประจำคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ --- รายงานของคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง --- สรุปผลการดำเนินงานคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางสร้างความสมานฉันท์ทางการเมืองของสังคมไทย -ภาคผนวก จ. --- คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง --- คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางทางการปฏิรูปการเมือง --- คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาแนวทางสร้างความสมานฉันท์ทางการเมืองของสังคมไทย -ภาคผนวก ง. ผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯในคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ -ภาคผนวก ค. ผลการดำเนินการของคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ -ภาคผนวก ข. ประกาศคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรื่อง การเลือกตั้งบุคคล เพื่อดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในคณะอนุกรรมการฯ -ภาคผนวก ก. คำสั่งรัฐสภา ที่ 17/2552 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ภาคผนวก -ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิรูปการเมือง -ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการปฏิรูปทางการเมือง -ข้อเสนอที่สมควรแก้ไขรัฐธรรมนูญปี 2550 รวม 6 ประเด็น บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -ประเด็นอื่น ๆ ที่เสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ --6. การแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนให้กับประชาชนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 266) --5. การดำรงตำแหน่งทางการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 265) --4. การทำหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา (มาตรา 190) --3. ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 111 ถึงมาตรา 121) --2. ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 93 ถึงมาตรา 98) --1. การยุบพรรคการเมืองและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารพรรคการเมือง (มาตรา 237) -ประเด็นและสาระสำคัญที่คณะกรรมการสมานฉันท์ฯ เห็นควรให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง บทที่ 4 รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -4. หลักนิติธรรม (Rule of Law) และระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ส่งเสริมต่อการพัฒนาประชาธิปไตยตามหลักแห่งการเป็นสังคม "นิติรัฐ" -3. บทบาททางการเมืองของภาคส่วนต่าง ๆ ที่สอดคล้องและส่งเสริมการพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม เช่น ภาคพลเมือง ภาคการเมือง (รัฐสภา/นิติบัญญัติ) ภาครัฐ (ราชการ/ศาล/องค์กรตามรัฐธรรมนูญ) และภาควิชาการ -2. วัฒนธรรมทางการเมืองที่สอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจสังคม และวิธีประชาธิปไตยของไทยและที่เป็นสากลทั้งในระดับปัจเจกชนและชุมชน --1.6 โครงสร้างทางเศรษฐกิจ --1.5 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ --1.4 นักการเมือง (ในด้านการให้นักการเมืองเข็มแข็ง) --1.3 พรรคการเมือง (ในด้านการให้พรรคการเมืองเข็มแข็ง) --1.2 โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น --1.1 โครงสร้างทางอำนาจและการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ -1. โครงสร้างทางอำนาจ การบริหาร การเมือง และเศรษฐกิจ -สาระสำคัญของประเด็นปัญหาแต่ละกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหา บทที่ 3 การปฏิรูปการเมือง --ข้อเสนอในระยะกลาง-ยั่งยืน --3. ระยะยาว --2. ระยะกลาง ---1.6 ร่างรัฐธรรมนูญฉบับฉันท์และแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ---1.5 จัดสมัชชาสมานฉันท์ส่วนภูมิภาค ---1.4 จัดให้มีกระบวนการเจรจาเพื่อสันติ ---1.3 สื่อสารมวลชนกับการสร้างสังคมสมานฉันท์ ---1.2 ฝ่ายรัฐบาลค้านลดเงื่อนไขความขัดแย้งที่มีอยู่เดิม และไม่สร้างเงื่อนไขใหม่ที่จะนำไปสู่ความขัดแย้งเพิ่มขึ้น ---1.1 ลดทิฐิ อคติ วิวาทะ และการตอบโต้ใส่ร้ายทางการเมือง --1. ระยะเร่งด่วน -แนวทางการดำเนินการ -แนวคิด บทที่ 2 การสร้างความสมานฉันท์ในบ้านเมือง -ที่มาและสภาพปัญหา บทที่ 1 บทนำ สารบัญ รายนามและประวัติคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ คำนำ คำปรารภของ นายดิเรก ถึงฝั่ง ประธานกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมืองและศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ คำปรารภของ นายชัย ชิดชอบ ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23 เรื่อง สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงานและประชุมสัญจร ณ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ สำนักงานคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ณ เมื่อวันพุธที่ 23 กรกฎาคม 2551
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกรรมาธิการ 3 กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว (กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า ปกหลัง -ค. รายนามคณะผู้จัดทำรายงาน -ข. กำหนดการเดินทาง --- สาธารณรัฐโครเอเชีย --- สาธารณรัฐสโลวีเนีย --- สาธารณรัฐออสเตรีย -ก. ข้อมูลทั่วไปของ ภาคผนวก บรรณานุกรม ---เมืองดูบรอฟนิค (Dubrovnik) ---เมืองสตอน (Ston) ---เมืองสปลิท (Split) ---อุทยานแห่งชาติ Plitvica Lakes National Park ---การพบปะกับผู้บริหารสมาพันธ์ฟุตบอล ---เมืองซาเกรบ (Zagreb) --สถานที่ศึกษาดูงานและการพบปะบุคคล --ความสำคัญของการท่องเที่ยวและกีฬาที่มีต่อชาติ --ข้อมูลด้านระบอบปกครอง -สาธารณรัฐโครเอเชีย ---เมืองโพสโตจนา/โพสทอยน่า (Postojna) ---เมืองลุบเลียนา (Ljubljana) ---เมืองเบลค(Bled) --สถานที่ศึกษาดูงาน --ความสำคัญของการท่องเที่ยวและกีฬาที่มีต่อชาติ --ข้อมูลด้านภาคบริการและการท่องเที่ยว --ข้อมูลด้านระบบการปกครอง -สาธารณรัฐสโลวีเนีย ---เมืองคลาเกนเฟิร์ท(Klagenfurt) ---เมืองกราซ(Graz) ---เข้าเยี่ยมคาราวะเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงเวียนนา ---ถ้ำซีกร็อตโต(Segrotto) ---อาคารรัฐสภาออสเตรีย ---กรุงเวียนนา --สถานที่ศึกษาดูงานและการพบปะผู้บุคคล --ความสำคัญของการท่องเที่ยวและกีฬาที่มีต่อชาติ --ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว --ข้อมูลด้านระบอบการปกครอง/การเมืองการปกครอง -สาธารณรัฐออสเตรีย -รายนามคณะเดินทาง รายงานสรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยวและกีฬา ภาพการเดินทางศึกษาดูงาน รายนามคณะกรรมาธิการ บทสรุปผู้บริหาร อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา ที่มาของคณะกรรมาธิการ สารบัญ
    สภาผู้แทนราษฎร