2.04.02.05 นโยบายและแผน

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 10
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2566-2570) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขานุการ ก.ร.; คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และกำกับ ติดตามและตรวจสอบ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (สำนักงานเลขานุการ ก.ร. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566-02)
    2566-02
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    Strong Stronger Strongest พันธสัญญาพัฒนาองค์กรใสสะอาด
    (กลุ่มงานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2561-08)
    ปก ปกใน สรุปสาระสำคัญ Strong Stronger Strongest : พันธสัญญาพัฒนาองค์กรใสสะอาด คำนำ สารบัญ บทนำ/หลักการเหตุผล กรอบแนวคิดในการดำเนินการ Strong Stronger Strongest : พันธสัญญาพัฒนาองค์กรใสสะอาด -ความชัดเจนด้านนโยบาย เพื่อใช้ในการกำหนดกรอบแนวคิด -การศึกษาแสวงหาทฤษฎีและแนวทางในการดำเนินการ (Explicit Knowledge) -การบูรณาการหลักวิชาการเพื่อนำสู่การปฏิบัติ ระดมความคิดเห็นเพื่อสร้างพันธสัญญาพัฒนาองค์กรใสสะอาด (การเรียนรู้แบบ Tacit Knowledge) การประเมินผล บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก -คำสั่งคณะกรรมการจัดการความรู้ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -รายงานผลการดำเนินการหลักสูตรจริยธรรมนำทีมงาน -รายงานผลการดำเนินการโครงการพัฒนาเครือข่ายและขับเคลื่อนประมวลจริยธรรมข้าราชการสภา 4.0 -รายงานผลการดำเนินการโครงการสัมมนา Digital Thinking : การขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนตัวกับส่วนรวม -แผนปฏิบัติการตามข้อบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระหว่างสำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงานเลขาธิการวุฒิภาและสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    2561-08
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2561-2565) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
    คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2565-01)
    ปก บทนำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร แผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2561 - 2565) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ และยึดหลักธรรมาภิบาล -กลยุทธ์ที่ 1 บริหารจัดการแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --แผนงาน การบริหารแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --โครงการ การนำแผนกำลังคนของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาไปปฏิบัติ -กลยุทธ์ที่ 2 ขับเคลื่อนระบบความก้าวหน้าในอาชีพให้แก่บุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาตามหลักธรรมาภิบาล --แผนงานที่ 1 การดำเนินการและติดตามการนำระบบเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ไปปฏิบัติ ---โครงการ การดำเนินการตามแผนระบบเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) --แผนงานที่ 2 การดำเนินการและติดตามการนำระบบสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) ไปปฏิบัติ ---โครงการ ดำเนินการตามแผนระบบสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) ---กิจกรรม ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมผู้สืบทอดตำแหน่ง และสรรหาผู้สืบทอดตำแหน่ง (ผู้อำนวยการสำนัก) ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่ส่วนราชการกำหนด --แผนงานที่ 3 การดำเนินการและติดตามการนำระบบบริหารข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Talent Management) ไปปฏิบัติ ---โครงการ ดำเนินการตามแผนระบบบริหารข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Talent Management) ---กิจกรรม การดำเนินการและติดตามการนำระบบบริหารข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Talent Management) ไปปฏิบัติ --แผนงานที่ 4 การดำเนินการและติดตามการนำระบบการหมุนเวียนการปฏิบัติงาน (Job Rotation) ไปปฏิบัติ ---โครงการ ขยายผลการหมุนเวียนการปฏิบัติงานของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (Job Rotation) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ---กิจกรรม ดำเนินการขยายผลการนำแผนไปปฏิบัติในกลุ่มข้าราชการสายงานอื่น ๆ -กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้างระบบการสรรหาเชิงรุก เพื่อให้ได้บุคลากรตรงตามความต้องการของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --แผนงานที่ 1 การพัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และดำเนินการสรรหาเพื่อดึงดูดคนดี คนเก่ง ให้เข้ามาปฏิบัติงานกับส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ---โครงการ การพัฒนา หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการสรรหาและดึงดูด "คนดี คนเก่ง" ให้เข้ามาปฏิบัติงานกับส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ตามแนวทางการสรรหาเชิงรุก --แผนงานที่ 2 การพัฒนาวิธีการและดำเนินการคัดเลือกและแต่งตั้ง เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณภาพ คุณธรรม มีความเหมาะสมมาดำรงตำแหน่ง ---โครงการ การพัฒนาและติดตามผลการปฏิบัติงานของนักกฎหมายนิติบัญญัติ ชั้นที่ 2 ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา -กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS) --แผนงาน การติดตามการดำเนินงานตามระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน --โครงการที่ 1 การดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน --โครงการที่ 2 ติดตามการเชื่อมโยงระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) กับแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) -กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ --แผนงาน การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้ทันสมัย ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน --โครงการ บูรณาการเชื่อมโยงฐานข้อมูลบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ขับเคลื่อนและผลักดันให้ทรัพยากรบุคคลเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง -กลยุทธ์ที่ 1 ขับเคลื่อนและผลักดันกลไกด้านคุณธรรมจริยธรรม และส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม --แผนงานที่ 1 การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและผลักดันการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา มาตรฐานทางจริยธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม ---โครงการ ----1. โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลและความโปร่งใส ----2. โครงการเสริมสร้างหลักธรรมนำทีมงานเพื่อขับเคลื่อนองค์กรคุณธรรมต้นแบบ ----3. โครงการคัดเลือกบุคลากรผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมดีเด่นตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภาของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ----4. โครงการคัดเลือกสำนักที่มีผลงานด้านการส่งเสริมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภาและความโปร่งใสของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ----5. โครงการวันแห่งคุณธรรมและเครือข่ายคุณธรรมและความโปร่งใส (โครงการขยายผลการนำคุณธรรมและจริยธรรมมาเผยแพร่ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานของบุคลากร) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 --แผนงานที่ 2 การดำเนินการตามหลักสูตรการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม ---โครงการ ถอดบทเรียนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภาและขับเคลื่อนสู่การเป็นองค์กรคุณธรรมต้นแบบ -กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการด้านวินัยและการป้องกันการกระทำผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ --แผนงานที่ 1 การรณรงค์ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการด้านวินัยและการป้องกันการกระทำผิดวินัยของบุคลากร ---โครงการ รณรงค์และส่งเสริมการปฏิบัติตนตามวินัยข้าราชการรัฐสภาสามัญ --แผนงานที่ 2 การรณรงค์ส่งเสริมมาตรการป้องกันการกระทำผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ ---โครงการ ขยายเครือข่าย STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต -กลยุทธ์ที่ 3 ขับเคลื่อนและผลักดันนโยบายความโปร่งใสของรัฐสภา --แผนงาน การดำเนินการตามนโยบายและมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --กิจกรรม การจัดทำแผนและกำกับ ติดตามการดำเนินการตามแผนส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินการด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรบุคลากรให้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ มีศักยภาพสูง และนำเทคโนโลยีมาสนับสนุนภารกิจด้านกระบวนการนิติบัญญัติอย่างมีประสิทธิภาพ -กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาที่มีประสิทธิภาพ --แผนงานที่ 1 การปรับปรุงมาตรฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะของบุคลากรให้เหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการ ---โครงการ ติดตามการนำความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญไปใช้ประโยชน์ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 --แผนงานที่ 2 การบูรณาการหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรร่วมกันของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาทั้งสองส่วนราชการให้สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ของบุคลากรที่เหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการ ---โครงการ พัฒนาหลักสูตรร่วมตามสายงานของบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงานที่ 3 การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ทุกระดับ/ทุกสายงาน ตามมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่กำหนด รวมทั้งทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานในอนาคต ---โครงการ พัฒนาความพร้อมในการปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์ของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงานที่ 4 การพัฒนาบุคลากรสายงานนิติการให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติตามแนวทางที่กำหนด ---โครงการ หลักสูตรสำหรับนักกฎหมายนิติบัญญัติ (หัวข้อวิชาเพิ่มเติม) ---กิจกรรม การจัดการบรรยาย จำนวน 6 หัวข้อวิชา ----1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายตามกระบวนการภายหลังเมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว ----2. การสัมมนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ ----3. กฎหมายระหว่างประเทศและข้อมูลกฎหมายในกลุ่มอาเซียน ----4. ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนาประเทศ ----5. สภาพปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย การป้องกันและระงับความขัดแย้งโดยสันติวิธี ----6. คุณธรรมสำหรับนักกฎหมาย --แผนงานที่ 5 การพัฒนาบุคลากรสายงานวิชาการให้เป็นนักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ ---โครงการ สนับสนุนความเป็นวิชาการให้กับบุคลากรสายงานวิชาการให้เป็นนักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ --แผนงานที่ 6 การติดตามประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และความคุ้มค่าในการพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการ ---โครงการ การประเมินความคุ้มค่าโครงการด้านพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -กลยุทธ์ที่ 2 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ --แผนงาน การพัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร --โครงการ พัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่บุคลากรของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศให้แก่ทรัพยากรบุคคล --แผนงานที่ 1 การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาต่างประเทศ ---โครงการ พัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ สำหรับงานนิติบัญญัติ (English for Law) ของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงานที่ 2 การพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาต่างประเทศให้แก่บุคลากร ---โครงการ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -กลยุทธ์ที่ 4 ผลักดันวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร --แผนงานที่ 1 การพัฒนาแผนการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ภายในส่วนราชการ ---โครงการ พัฒนาการจัดการความรู้และระบบการเรียนรู้ขององค์กร --แผนงานที่ 2 การสนับสนุนให้บุคลากรเรียนรู้ด้วยตนเอง ---โครงการ พัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนารายบุคคล (IDP : Individual Development Plan) กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-development) ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความผาสุกและพัฒนาคุณภาพชีวิตของทรัพยากรบุคคลให้มีความสุขอย่างสมดุล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพชีวิตของทรัพยากรบุคคล --แผนงานที่ 1 การศึกษาความต้องการและบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคลากรให้มีสมดุลทั้งชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว --แผนงานที่ 2 การส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข (Happy Workplace) ---โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างความผูกพันของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงานที่ 3 การสำรวจความคิดเห็น และความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล ---กิจกรรม สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง --แผนงาน การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรดำเนินชีวิตบนวิถีความพอเพียง พร้อมทั้งน้อมนำพระบรมราโชวาทมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ --โครงการ เสริมสร้างดุลยภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม --แผนงานที่ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม ---โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 --แผนงานที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาทางด้านจิตใจในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยยึดหลักความรับผิดชอบต่อสังคม ---โครงการ เยาวชน CSR พัฒนาประชาธิปไตย ปี พ.ศ. 2565 ปัจจัยความสำเร็จ
    สภาผู้แทนราษฎร
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2561-2565) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา)
    คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา; รัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รัฐสภา, 2562-10)
    ปกหน้า บทนำ บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ และยึดหลักธรรมาภิบาล -กลยุทธ์ที่ 1 บริหารจัดการแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --แผนงาน การบริหารแผนกำลังคนให้เหมาะสมกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --โครงการ จัดทำแผนกำลังคนของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา พ.ศ. 2563-2565 -กลยุทธ์ที่ 2 ขับเคลื่อนระบบความก้าวหน้าในอาชีพให้แก่บุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาตามหลักธรรมาภิบาล --แผนงาน 1 การดำเนินการและติดตามการนำระบบเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ไปปฏิบัติ --โครงการ การดำเนินการตามแผนระบบความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) --แผนงาน 2 การดำเนินการและติดตามการนำระบบสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) ไปปฏิบัติ --โครงการ ดำเนินการตามแผนระบบสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) --แผนงาน 3 การดำเนินการและติดตามการนำระบบบริหารข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Talent Management) ไปปฏิบัติ --โครงการ ดำเนินการตามแผนระบบบริหารข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Talent Management) --แผนงาน 4 ขยายผลการหมุนเวียนการปฏิบัติงานของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (Job Rotation) -กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้างระบบการสรรหาเชิงรุก เพื่อให้ได้บุคลากรตรงตามความต้องการของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --แผนงาน 1 การพัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และดำเนินการสรรหาเพื่อดึงดูดคนดี คนเก่งให้เข้ามาปฏิบัติงานกับส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --โครงการ การพัฒนา หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการสรรหาและดึงดูด “คนดี คนเก่ง” ให้เข้ามาปฏิบัติงานกับส่วนราชการสังกัดรัฐสภาตามแนวทางการสรรหาเชิงรุก --แผนงาน 2 การพัฒนาวิธีการและดำเนินการคัดเลือกและแต่งตั้ง เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณภาพคุณธรรม มีความเหมาะสมมาดำรงตำแหน่ง --โครงการ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาดำเนินการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และคู่มือการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งนักกฎหมายนิติบัญญัติ ชั้นที่ 2 -กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสร้างระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS) --แผนงาน การติดตามการดำเนินงานและปรับปรุงระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน --โครงการ 1 การดำเนินการปรับปรุง/แก้ไข/กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตามระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานที่ได้จากผลการศึกษา --โครงการ 2 ติดตามการเชื่อมโยงระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) กับแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) -กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ --แผนงาน การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้ทันสมัยครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน --โครงการ บูรณาการเชื่อมโยงฐานข้อมูลบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ขับเคลื่อนและผลักดันให้ทรัพยากรบุคคลเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง -กลยุทธ์ที่ 1 ขับเคลื่อนและผลักดันกลไกด้านคุณธรรมจริยธรรม และส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม --แผนงาน 1 การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและผลักดันการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภามาตรฐานทางจริยธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม --โครงการ 1. โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนจริยธรรม ธรรมาภิบาลและความโปร่งใส 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมเจ้าหน้าที่รัฐสภา 3. โครงการคัดเลือกและเชิดชูเกียรติการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --แผนงาน 2 การดำเนินการตามหลักสูตรการสร้างเสริมจริยธรรม จริยธรรมรวมทั้งส่งเสริมให้มีผู้นำต้นแบบทางจริยธรรม --โครงการ โครงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและค่านิยมหลัก เพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายขององค์กร -กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการด้านวินัยและการป้องกันการกระทำผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ --แผนงาน 1 การรณรงค์ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการด้านวินัยและการป้องกันการกระทำผิดวินัยของบุคลากร --โครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังตามกฎระเบียบของทางราชการ --แผนงาน 2 การรณรงค์ส่งเสริมมาตรการป้องกันการกระทำผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ --โครงการ โครงการเรียนรู้กระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -กลยุทธ์ที่ 3 ขับเคลื่อนและผลักดันนโยบายความโปร่งใสของรัฐสภา --แผนงาน การดำเนินการตามนโยบายและมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --กิจกรรม การจัดทำแผนและกำกับติดตามส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินการด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาและการกำกับ ติดตาม การดำเนินการดังกล่าว ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรบุคลากรให้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ มีศักยภาพสูง และนำเทคโนโลยีมาสนับสนุนภารกิจด้านกระบวนการนิติบัญญัติอย่างมีประสิทธิภาพ -กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาที่มีประสิทธิภาพ --แผนงาน 1 การปรับปรุงมาตรฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะของบุคลากรให้เหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการ --โครงการ ติดตามผลการดำเนินการในการนำความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญไปใช้ประโยชน์ในการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา --แผนงาน 2 การบูรณาการหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรร่วมกันของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาทั้งสองส่วนราชการให้สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ของบุคลากรที่เหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการ --โครงการ โครงการพัฒนาหลักสูตรร่วมสายอาชีพของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงาน 3 การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ทุกระดับ/ทุกสายงาน ตามมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่กำหนด รวมทั้งทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานในอนาคต --โครงการ 1. โครงการพัฒนาความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานด้านนิติบัญญัติและการติดตามงานตามยุทธศาสตร์ชาติ 2. โครงการพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานด้านนิติบัญญัติและการติดตามงานตามยุทธศาสตร์ชาติ --แผนงาน 4 การพัฒนาบุคลากรสายงานนิติการให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติตามแนวทางที่กำหนด --โครงการ โครงการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการรัฐสภาในตำแหน่งนิติกรให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติ --แผนงาน 5 การพัฒนาบุคลากรสายงานวิชาการให้เป็นนักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ --โครงการ โครงการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการรัฐสภาในตำแหน่งวิทยากรให้เป็นนักวิชาการนิติบัญญัติ --แผนงาน 6 การติดตามประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และความคุ้มค่าในการพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการ --โครงการ การประเมินความคุ้มค่าโครงการด้านพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 -กลยุทธ์ที่ 2 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ --แผนงาน การพัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร --โครงการ พัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่บุคลากรของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศให้แก่ทรัพยากรบุคคล --แผนงาน 1 การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาต่างประเทศ --โครงการ พัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงาน 2 การพัฒนาทักษะและขีดความสามารถการใช้ภาษาต่างประเทศให้แก่บุคลากร --โครงการ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -กลยุทธ์ที่ 4 ผลักดันวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร --แผนงาน 1 การพัฒนาแผนการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ภายในส่วนราชการ --โครงการ การพัฒนาการจัดการความรู้และระบบการเรียนรู้ขององค์กร --แผนงาน 2 การสนับสนุนให้บุคลากรเรียนรู้ด้วยตนเอง --โครงการ โครงการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนารายบุคคล (IDP : Individual Development Plan) กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-development) ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความผาสุกและพัฒนาคุณภาพชีวิตของทรัพยากรบุคคลให้มีความสุขอย่างสมดุล ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพชีวิตของทรัพยากรบุคคล --แผนงาน 1 การศึกษาความต้องการและบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคลากรให้มีสมดุลทั้งชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว --โครงการ การยกระดับคุณภาพชีวิตและการสร้างความผูกพันของบุคลากรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --แผนงาน 2 การส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข (Happy Workplace) --โครงการ ส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข (Happy Workplace) --แผนงาน 3 การสำรวจความคิดเห็น และความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล --กิจกรรม สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 -กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง --แผนงาน การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรดำเนินชีวิตบนวิถีความพอเพียง พร้อมทั้งน้อมนำพระบรมราโชวาทมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ --โครงการ ส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม --แผนงาน 1 การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านกิจกรรมเพื่อสังคมสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม --โครงการ ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และสิ่งแวดล้อม --แผนงาน 2 การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาทางด้านจิตใจในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยยึดหลักความรับผิดชอบต่อสังคม --โครงการ 1. โครงการด้านการอนุรักษ์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. โครงการด้านจิตอาสาและกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ 3. โครงการด้านการพัฒนาชุมชนสำคัญบริเวณโดยรอบบริเวณอาคารรัฐสภาแห่งใหม่
    2562-10
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา พ.ศ. 2549-2552
    สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักนโยบายและแผน. กลุ่มงานแผนงานและโครงการ (สำนักนโยบายและแผน สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2549)
    แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา พ.ศ. 2549-2552 -- งบประมาณตามยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา พ.ศ. 2549-2552 -- ยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -- พันธกิจของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -- วิสัยทัศน์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -- ศักยภาพการพัฒนาของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ทิศทางการพัฒนาสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา บทนำ สารบัญ คำนำ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา พ.ศ. 2549-2552 ปกหน้า ปกหลัง -3. ตารางเปรียบเทียบอัตรากำลังทั้งหมดและอัตรากำลังที่มีอยู่จริงอัตราว่างในแต่ละระดับ -2. แผนภูมิการแบ่งส่วนราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -1. การประเมินสถานภาพปัจจุบันขององค์กร ภาคผนวก -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์กร -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การใช้ความรู้และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานของวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริารธุรกิจ การต่างประเทศและสวัสดิการให้แก่สมาชิกวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนวิชาการและข้อมูล -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพด้านงานประมูล โครงการและงบประมาณตามยุทธศาสตร์ -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์กร -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การให้ความรู้และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานของวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารธุรการ การต่างประเทศและสวัสดิการให้แก่สมาชิกวุฒิสภา -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสนับสนุนงานวิชาการและข้อมูล -ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพด้านงานประชุม
    2549
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะ 5 ปี ฉบับที่ 12 สาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. 2554-2558)
    สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักภาษาต่างประเทศ กลุ่มงานภาษาจีนและภาษาอื่น (สำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, )
    ปกหน้า -15. ทหารและประชาชนมีความกลมกลืนกัน เสริมสร้างการป้องกันประเทศและกองทัพให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น ปกหลัง ประวัติผู้จัดทำ -แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของจีน ฉบับที่ 1 - ฉบับที่ 11 ภาคผนวก -16. ปฏิบัติอย่างขันแข็งเพื่อบรรลุเป้าหมายอันยิ่งใหญ่ -14. ขยายความร่วมมือ ร่วมกันสร้างครอบครัวของชนชาติจีนด้วยกัน -13. พัฒนาประชาธิปไตย ผลักดันการสร้างสรรค์อารยธรรมทางการเมืองในระบอบสังคมนิยม -12. อำนวยประโยชน์แก่กันและกัน (Win-Win) ยกระดับการเปิดประเทศให้สูงขึ้น -11. ปฏิรูป พิชิตอุปสรรค สร้างระบบเศรษฐกิจกลไกการตลาดแบบสังคมนิยมให้สมบูรณ์แบบ -10. สืบสาน สร้างสรรค์และผลักดันการพัฒนาวัฒนธรรมให้เจริญรุ่งเรือง -9. เสริมสร้างและสร้างสรรค์ระบบบริหารสังคม -8. ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน สร้างระบบบริการสาธารณะสมบูรณ์แบบ -7. นวัตกรรมขับเคลื่อนการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ว่าด้วยวิทยาศาสตร์ การศึกษาทำให้ชาติเจริญ และยุทธศาสตร์ว่าด้วยการพัฒนาบุคลากรทำให้ชาติเจริญ -6. พัฒนาแบบสีเขียว สร้างสรรค์สังคมแบบประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม -5. ส่งเสริมการพัฒนาอย่างสมดุลระหว่างภูมิภาคและส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเมือง (Urbanization) อย่างแข็งแกร่ง -4. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาภาคบริการ -3. พัฒนาระบบอุตสาหกรรมให้มีความทันสมัย เปลี่ยนรูปแบบใหม่ ยกระดับและเพิ่มศักยภาพของการแข่งขันของวิสาหกิจ -2. การเกษตรเข้มแข็ง เกษตรกรได้ประโยชน์ เร่งสร้างสรรค์ชนบทใหม่ในสังคมนิยม -1. สร้างโฉมหน้าใหม่ที่มีการพัฒนาตามหลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระยะ 5 ปี ฉบับที่ 12 สาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. 2554-2558) สารบัญ คำนำ
    กรุงเทพฯ
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การแสดงวิสัยทัศน์ของสมาชิกวุฒิสภาที่ประสงค์เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา
    สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา กองการพิมพ์ (ฝ่ายชวเลข กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2543)
    -3. นายสนิท วรปัญญา -4. พลตรี มนูญกฤต รูปขจร -5. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ -6. นายชุมพล ศิลปอาชา -7. พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ ผู้เสนอตัวเป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่ง -1. นายไสว พราหมณี -2. ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ -3. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ -4. นายเสรี สุวรรณภานนท์ -5. นายสุชน ชาลีเครือ -6. นายคำนวณ ชโลปถัมภ์ -7. นายเด่น โต๊ะมีนา -8. นายเฉลิม พรหมเลิศ ผู้เสนอตัวเป็นรองประธานวุฒิสภาคนที่สอง -1. นายสมพร คำชื่น -2. พลโท โอภาส รัตนบุรี -3. นายปรีดี หิรัญพฤกษ์ -4. นายดำรง พุฒตาล -5. นายการุณ ใสงาม -6. นายสันติ์ เทพมณี -7. นายบุญทัน ดอกไธสง -8. นางมาลินี ศุภเวชชวรกิจ ปกหลัง -1. นายปราโมทย์ ไม้กลัด -2. พันเอก สมคิด ศรีสังคม ปกหน้า สารบัญ ผู้เสนอตัวเป็นประธานวุฒิสภา
    2543
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2537 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
    สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย (ศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2537)
    ปกหน้า โครงสร้างของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา แผนพัฒนาและแนวทางปฏิบัติงานของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา แผนปฏิบัติการของงานที่ปรึกษากฎหมาย ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของงานตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองกลาง ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองคลังและพัสดุ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองสถานที่ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองการพิมพ์ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติงานของกองการประชาสัมพันธ์ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองวิเทศสัมพันธ์ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองการประชุม ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของกองกรรมาธิการ ประจำปีงบประมาณ 2537 แผนปฏิบัติการของศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย ประจำปีงบประมาณ 2537 ปกหลัง
    2537
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนยุทธศาสตร์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2555)
    สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักนโยบายและแผน กลุ่มงานแผนงานและโครงการ (สำนักนโยบายและแผน สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2552)
    ปกหน้า คำนำ สารบัญ แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2555) บทบาทใหม่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายสูงสุด ค่านิยมหลัก สมรรถนะหลักของบุคลากร ยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา กลยุทธ์และตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2555) การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ปกหลัง
    2552
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ประจำปี พ.ศ. 2555
    คณะกรรมการจัดการความรู้ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา; สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2555)
    ปก คำนำ สารบัญ ส่วนที่ ๑ บทนำ ส่วนที่ ๒ การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) >- การจัดทำแผนการจัดการความรู้ตามเกณฑ์ PMQA >- ขอบเขตการจัดการความรู้สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (KM Focus Area) >- องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา >- การกำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประจำปี พ.ศ.๒๕๕๕ >- รูปแบบกระบวนการจัดการความรู้ (KM Model) เพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ >- การวัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการจัดการความรู้ ประจำปี พ.ศ.๒๕๕๕ ส่วนที่ ๓ แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ ภาคผนวก
    2555