2.05.04 รายงานการศึกษา/วิจัย โดย สถาบันและนักวิจัยอิสระ
URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้
เรียกดู
รายการที่เพิ่มล่าสุด
รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ บทสรุปผู้บริหาร รายงานวิจัย เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้านการแรงงานภายใต้ยุทธศาสตร์ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์, นักวิจัย; วิมพัทธ์ ราชประดิษฐ์, นักวิจัย; ฉัฏฐเมษ ภิรมย์พานิช, นักวิจัย; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะนิติศาสตร์ (2562)ปกหน้า บทสรุปผู้บริหาร ที่มาและสภาพปัญหา ระเบียบวิธีวิจัย สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ -1. บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -2. ความสัมพันธ์ของแผนยุทธศาสตร์ชาติกับประเด็นปัญหาด้านการแรงงาน --2.1 ด้านความมั่นคงกับประเด็นเรื่องแรงงาน --2.2 ด้านการพัฒนาและเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์กับประเด็นเรื่องแรงงาน --2.3 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมกับประเด็นเรื่องแรงงาน -3. การประเมินสถานะของบทกฎหมายแรงงานไทยปัจจุบันที่ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ --3.1 ประเด็นรูปแบบของบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทย --3.2 ประเด็นเนื้อหาของบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทย ---3.2.1 ปัญหาของกฎหมายกลุ่มการคุ้มครองแรงงานในลักษณะปัจเจกบุคคล ---3.2.2 ปัญหาของกฎหมายกลุ่มการคุ้มครองแรงงานในลักษณะร่วมกันและการระงับข้อพิพาทแรงงาน ---3.2.3 กลุ่มปัญหาของกฎหมายกลุ่มการคุ้มครองแรงงานพิเศษสำหรับการใช้แรงงานเอกชนบางประเภท ---3.2.4 ปัญหาของกฎหมายกลุ่มการคุ้มครองบุคลากรภาครัฐ ---3.2.5 ปัญหาของกฎหมายกลุ่มความมั่นคงทางสังคม --3.3 ประเด็นประสิทธิภาพในการนำบทบัญญัติแห่งกฎหมายไปใช้บังคับ ---3.3.1 ปัญหาตัวบทบัญญัติครอบคลุมสาระแห่งประเด็นแต่ข้อเท็จจริงแห่งปัญหาที่เกิดขึ้นกลับเป็นบทสะท้อนในอีกแง่มุมหนึ่งของเรื่อง ---3.3.2 ปัญหาความลักลั่นในสิทธิประโยชน์และการให้ความคุ้มครองอันเนื่องมาจากการใช้กฎหมายหลายฉบับ ---3.3.3 ปัญหากฎหมายแม่บทขาดบทบัญญัติลำดับรองกำหนดรายละเอียดในการบังคับใช้ --ตารางสรุปความสัมพันธ์ของกฎหมายแรงงาน 13 ฉบับ และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 3 ด้านที่มีสารัตถะเกี่ยวกับการแรงงาน -4. แนวทางที่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านคณะกรรมาธิการการแรงงานเพื่อการพัฒนาบทกฎหมายแรงงานให้บรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ --แผนระยะสั้น --แผนระยะยาว --ตารางสรุปแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผ่านคณะกรรมาธิการการแรงงานในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน 13 ฉบับและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ -5. แนวทางที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในการตรากฎหมาย การควบคุมตรวจสอบและการให้ความเห็นชอบของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้สัมฤทธิ์ผลตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการแรงงาน -ข้อเสนอแนะ --1. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งนี้ ---1.1 การแก้ไขเชิงบูรณาการ ---1.2 การแก้ไขเชิงรูปแบบ ---1.3 การแก้ไขเชิงเนื้อหา ----1.3.1 พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528 ----1.3.2 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ----1.3.3 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ----1.3.4 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ----1.3.5 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ----1.3.6 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ----1.3.7 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ----1.3.8 พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ----1.3.9 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน พ.ศ. 2553 ----1.3.10 พระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 ----1.3.11 พระราชกำหนดการบริการจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 ----1.3.12 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานในงานประมง พ.ศ. 2562 ----1.3.13 พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 ---1.4 กรอบการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลของกฎหมาย --2. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ปกหลัง2562รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในพลวัตรโลกประภัสสร์ เทพชาตรี (2562)ปก คำนำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร บทสรุปเชิงนโยบาย บทคัดย่อ Abstract บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -2. คำถามในการวิจัย -3. สมมติฐานการวิจัย -4. วัตถุประสงค์ -5. ขอบเขตการวิจัย -6. คำนิยามศัพท์ -7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -8. อาเซียนในภาพรวม บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 การทบทวนวรรณกรรม -2.2 กรอบแนวคิดทฤษฎี และกรอบแนวคดิ การวิจัย --2.2.1 ทฤษฎีสัจนิยม (realism) --2.2.2 ทฤษฎี Balance of Power --2.2.3 ทฤษฎีเสรีนิยม (Liberalism) และภูมิภาคภิบาล (regional governance) --2.2.4 ทฤษฎีบูรณาการทางการเมือง (Political Integrations Theory) --2.2.5 ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ (International Political Economy : IPE) บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 แนวทางและวิธีการวิจัย -3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -3.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล -3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิจัย -ตอนที่ 1: ยุทธศาสตร์ของอาเซียน --1.1 ยุทธศาสตร์ของอาเซียน --1.2 ยุทธศาสตร์ของรัฐสมาชิกอาเซียนและไทย -ตอนที่ 2: บทบาทของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ --2.1 บทบาทของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยสงครามเย็น ---(1) ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok declaration) ---(2) ปฏิญญาว่าด้วยเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace,Freedom and Neutrality Declaration-ZOPFAN) ---(3) ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 1 ---(4) สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty ofAmity and Cooperation-TAC) ---(5) ปัญหากัมพูชา ---(6) บทสรุป --2.2 บทบาทของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยหลังสงครามเย็น ---(1) เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area-AFTA) ---(2) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast AsianNuclear-Weapon-Free Zone Treaty-SEANWFZ) ---(3) การขยายสมาชิกอาเซียน ---(4) วิกฤตเศรษฐกิจ ---(5) ปัญหาติมอร์ตะวันออก ---(6) ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration-IAI) ---(7) Bali Concord II ---(8) กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ---(9) วิสัยทัศน์อาเซียน 2025 ---(10) แผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity-MPAC) ---(11) บทสรุป -ตอนที่ 3: บทบาทของอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางในภูมิภาค --3.1 ASEAN + 1 ---3.1.1 อาเซียน-จีน ---3.1.2 อาเซียน-สหรัฐฯ ---3.1.3 อาเซียน-ญี่ปุ่น ---3.1.4 อาเซียน-สหภาพยุโรป ---3.1.5 อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ---3.1.6 อาเซียน-ออสเตรเลีย ---3.1.7 อาเซียน-นิวซีแลนด์ ---3.1.8 อาเซียน-อินเดีย ---3.1.9 อาเซียน-แคนาดา --3.2 ASEAN + 3 --3.3 อาเซียน+8 --3.4 การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum – ARF) --3.5 ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership - RCEP) --3.6 กรอบความร่วมมือเอเชีย (Asia Cooperation Dialogue - ACD) --3.7 กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค ---3.7.1 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ---3.7.2 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Sub region: GMS) ---3.7.3 ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลว่าด้วยความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and EconomicCooperation – BIMSTEC) ---3.7.4 แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย – ไทย (Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle Summit – IMT-GT) -ตอนที่ 4: สมัชชารัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Assembly : AIPA) --4.1 สมัชชารัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter-Parliamentary Assembly : AIPA) ---(1) ความเป็นมา ---(2) โครงสร้าง ---(3) ผลการประชุมใหญ่สมัชชารัฐสภาอาเซียน ---(4) ความท้าทายของสมัชชารัฐสภาอาเซียน ---(5) ผลการประชุมประเทศผู้สังเกตการณ์ ---(6) ความสัมพันธ์ระหว่าง AIPA และ ASEAN --4.2 สมัชชาสหภาพรัฐสภา (The Inter-Parliamentary Union-IPU) ---(1) ความเป็นมาของสมัชชาสหภาพรัฐสภา ---(2) โครงสร้างและองค์ประกอบ ---(3) AIPA และ IPU ---(4) บทบาทของรัฐสภาไทยใน IPU --4.3 บทบาทของรัฐสภาไทยในด้านอาเซียน ---(1) กรรมาธิการด้านต่างประเทศ ---(2) คณะอนุกรรมาธิการต่างประเทศ ---(3) บทบาทของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -ตอนที่ 5: ปัจจัยเงื่อนไขที่ส่งผลต่อการเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในพลวัตที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน --(1) ปัญหาทะเลจีนใต้ --(2) การเจรจาปฏิญญาต่อต้านการก่อการร้ายอาเซียน-สหรัฐ --(3) อาเซียน+3 --(4) RCEP --(5) EAST Asia Summit บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการวิจัย -5.2 อภิปรายผลการวิจัย บรรณานุกรม ประวัติผู้วิจัย2562รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ การจัดการลุ่มน้ำโดยชุมชนมีส่วนร่วมพรชัย ปรีชาปัญญา (ม.ป.พ., )ปกหน้า สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 หลักการและเหตุผล -1.2 มนุษย์นิเวศ -1.3 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ -1.4 การมีส่วนร่วมของประชาชน -1.5 การจัดการลุ่มน้ำ -1.6 องค์ประกอบของเอกสาร บทที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น -2.1 คำนำ -2.2 ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น -2.3 การตั้งถิ่นฐานของชุมชนในเขตป่าตามพัฒนาการทางด้านสังคมและการเมือง -2.4 ภูมิปัญหาไทยกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ บทที่ 3 การรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น -3.1 คำนำ -3.2 นิยามศัพท์ -3.3 แนวความคิดในการรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น -3.4 การสืบเสาะหาภูมิปัญญาท้องถิ่น -3.5 การแปลความหมาย -3.6 การประเมินผลข้อมูล -3.7 การประมวลข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ -3.8 สรุป บทที่ 4 ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดการลุ่มน้ำ -4.1 คำนำ -4.2 การหาหัวข้อเรื่องย่อยภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นในฐานข้อมูล -4.3 บทบาทของต้นไม้ต่อการกักเก็บน้ำและการปลดปล่อยน้ำ -4.5 บทบาทของพืชต่อการชะล้างทลายของดิน -4.6 ความสัมพันธ์ของวัวกับระบบนิเวศลุ่มน้ำป่าไม้ -4.7 การทำนายลักษณะภูมิอากาศโดยความหลากหลายทางชีวภาพ -4.8 ดัชนีคุณภาพน้ำโดยความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ -4.9 บทบาทของต้นไม้ป่าในการหมุนเวียนธาตุอาหาร -4.10 การทำนายน้ำท่วมและดินถล่ม -4.11 สรุป บทที่ 5 การผนวกภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นและวิทยาศาสตร์การจัดการลุ่มน้ำ -5.1 คำนำ -5.2 การรวบรวมวิทยาศาสตร์การจัดการลุ่มน้ำ -5.3 บทบาทและชนิดของพืชต่อการกักเก็บและปลดปล่อยน้ำ -5.4 บทบาทของพืชต่อการจับหมอก และน้ำค้าง -5.5 บทบาทของพืชต่อการชะล้างพังทลายของดิน -5.6 ความสัมพันธ์ของวัวกับระบบอุทกป่าไม้ -5.7 การทำนายลักษณะของฝนโดยความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ -5.8 ดัชนีคุณภาพน้ำโดยความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ -5.9 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของสัตว์กับการทำนายการเกิดภัยพิบัติ -5.10 สรุป บทที่ 6 การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์และภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นเพื่อการจัดการลุ่มน้ำโดยชุมชนมีส่วนร่วม -6.1 คำนำ -6.2 การถ่ายทอดความรู้ -6.3 การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์และภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่น -6.4 การนำข้อมูลมาตีความ -6.5 สรุปและข้อเสนอแนะ บทที่ 7 สถาบันท้องถิ่น -7.1 คำนำ -7.2 รัฐธรรมนูญ -7.3 กฎหมาย -7.4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม -7.5 กฎหมู่บ้าน -7.6 ลักษณะสถาบันหรือองค์กรท้องถิ่น -7.7 ประเภทสถาบันหรือองค์กรท้องถิ่น -7.8 เครือข่ายลุ่มน้ำ หรือคณะกรรมการลุ่มน้ำ -7.9 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรท้องถิ่น -7.10 การพัฒนาองค์กรและเครือข่าย บทที่ 8 สรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม สารบัญรูป -รูปที่ 3.1 การรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น -รูปที่ 3.2 ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น -รูปที่ 3.3 การกระจายของภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นไปตามความแตกต่างของโครงสร้างประชากร -รูปที่ 3.4 แผนภาพแสดงข้อมูล -รูปที่ 3.5 การประเมินผลแผนภาพความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ -รูปที่ 3.6 การประเมินผลแผนภาพที่แสดงการจำแนกพืช -รูปที่ 3.7 โครงสร้างฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น -รูปที่ 4.1 ขบวนการในการเลือกหัวข้อในฐานข้อมูลภูมิปัญญา -รูปที่ 4.2 ภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นเกี่ยวกับบทบาทของพืชต่อการจับหมอกและน้ำค้าง -รูปที่ 6.1 ขวดวัดน้ำฝน -รูปที่ 6.2 กระบอกวัดการระเหยของน้ำ -รูปที่ 6.3 การวัดตะกอนแขวนลอย -รูปที่ 6.4 การใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในน้ำประเมินคุณภาพน้ำ -รูปที่ 6.5 คู่มือศึกษาระบบนิเวศต้นน้ำ -รูปที่ 6.6 คู่มือศึกษาวิวัฒนาการการใช้ที่ดิน -รูปที่ 6.7 ตัวอย่างแผนที่หมู่บ้านปากรอ จ.สงขลา โดยความร่วมมือของชุมชนในพื้นที่ -รูปที่ 6.8 แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบตัดขวาง -รูปที่ 6.9 ตัวอย่างปฏิทินการเกษตร บ้านโคกสูง กิ่ง อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น -รูปที่ 6.10 ตัวอย่างการดำเนินชีวิต และใช้ประโยชน์ที่ดินของหมู่บ้านบริเวณใกล้กับสวนรุกขชาติโป่งสลีเชียงราย สารบัญตาราง -ตารางที่ 3.1 ขอบเขตของการสัมภาษณ์ -ตารางที่ 3.2 คำถามปลายเปิดที่พัฒนามาจากขอบเขตของเนื้อหาที่ต้องการสัมภาษณ์ในตารางที่ 3.1 -ตารางที่ 3.3 ตัวอย่างการสัมภาษณ์เกี่ยวกับบทบาทของต้นไม้ต่อการกักเก็บ และปลดปล่อยน้ำ -ตารางที่ 3.4 ตัวอย่างคำท้องถิ่น และความหมาย -ตารางที่ 3.5 ข้อมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศ ซึ่งสรุปได้จากตารางที่ 3.3 -ตารางที่ 3.6 โครงสร้างของประโยคเดี่ยว -ตารางที่ 4.1 ภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นเกี่ยวกับชนิดพืชที่กักเก็บและปลดปล่อยน้ำ -ตารางที่ 4.2 ภูมิปัญญานิเวศเกี่ยวกับบทบาทพืชในการลดพลังงานฝน ป้องกันการชะล้างหน้าดิน และป้องกันตลิ่งพัง -ตารางที่ 4.3 ชนิดของสัตว์ที่ใช้ในการทำนายลักษณะอุตุและอุทก -ตารางที่ 4.4 การใช้สัตว์ในการวัดคุณภาพน้ำ -ตารางที่ 7.1 มาตราต่าง ๆ ในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของชุมชนในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมม.ป.ท.รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ การประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง รัฐสภาของเรา ปีงบประมาณ 2553สุทิติ ขัตติยะ, ผู้วิจัย; ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ, ผู้วิจัย (สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์, 2553)ปกหน้า -การประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียงรัฐสภาของเรา ปีงบประมาณ 2553 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์[สุทิติ ขัตติยะ,ผู้วิจัย][ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ,ผู้วิจัย] -คำนำ -กิตติกรรมประกาศ -บทสรุปสำหรับผู้บริหาร -สารบัญ --บทที่ 1 บทนำ ---หลักการและเหตุผล ---วัตถุประสงค์ ---แนวทางการดำเนินงาน ---ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย ---กรอบแนวคิดในการประเมินผล ---คำนิยามศัพท์เฉพาะ ---ผลที่คาดว่าจะได้รับ ---ผลสัมฤทธิ์ของโครงการที่คาดหวัง --บทที่ 2 แนวทางการศึกษา ---แนวคิดเกี่ยวกับรัฐสภาไทย ---แนวคิดเกี่ยวกับวิทยุกระจายเสียง ---องค์ประกอบของรายการวิทยุ ---รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง ---เนื้อหารายการวิทยุกระจายเสียง ---หลักการใช้ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง ---เหตุผลในการเลือกเปิดรับสาร --บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ---ประชากรที่ศึกษา ---ขอบเขตการประเมิน ---เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ ---การวิเคราะห์ข้อมูล ---สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ---การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล --บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ---ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ---ตอนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม --บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน และข้อเสนอแนะ ---ผลการวิจัย ---ข้อเสนอแนะ --บรรณานุกรม --ภาคผนวก ---ภาคผนวก ก แบบประเมินผลการรับฟัง (คำถามปลายปิด) ---ภาคผนวก ข รายชื่อเยาวชนผู้ให้ข้อมูลหลัก การประเมินผลโครงการวิจัยและประเมินผลโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น รายการ "รัฐสภาของเรา" ปีงบประมาณ 2553 ---ภาคผนวก ค รายชื่อคณะทำงานวิจัยและประเมินผลโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น รายการ "รัฐสภาของเรา" ปีงบประมาณ 2553 ---ภาคผนวก ง รายชื่อ สวท. ภูมิภาค 40 แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น รายการ "รัฐสภาของเรา" ปีงบประมาณ 2553 ---ภาคผนวก จ โครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น รายการ "รัฐสภาของเรา" ประจำปีงบประมาณ 2553 -สารบัญตาราง --ตาราง 41 แสดงค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความเห็นต่อเนื้อหาของรายการ "รัฐสภาของเรา" ในภาพรวม ทั้ง 40 สถานี ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย -สารบัญภาพประกอบ --ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง "รัฐสภาของเรา" ปี 2553 --ภาพประกอบที่ 2 แสดงผลรวมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ -ปกหลัง2553รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานการวิจัย เรื่อง ปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลสถาบันดำรงราชานุภาพ กองวิชาการและแผนงาน; สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง (กรมการปกครอง, 2539)ปกหน้า คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ บทที่ 1 บทนำ -ความสำคัญและที่มาของการวิจัย -วัตถุประสงค์ของการวิจัย -ขอบเขตการวิจัย -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -การนำเสนอผลการวิจัย บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหาร --ความหมายของการบริหาร (Administration) --ทรัพยากรการบริหาร --กระบวนการบริหาร --คุณค่าของการบริหาร -แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการกระจายอำนาจ --ความหมายของการกระจายอำนาจ --หลักการกระจายอำนาจ -แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น --ความหมายของการปกครองท้องถิ่น --องค์ประกอบของการปกครองท้องถิ่น --ความสำคัญของการปกครองท้องถิ่น --ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย -วิธีการวิจัย -ประชากร -หน่วยวิเคราะห์ -กลุ่มตัวอย่าง -วิธีการสุ่มตัวอย่าง -วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล -เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม -การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนตำบล -การบริหารงานระดับตำบลในอดีต --การบริหารงานตำบลตามคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 222/2499 --การบริหารงานตำบลตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตำบล พ.ศ. 2499 --การบริหารงานตำบลตามคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 275/2509 --การบริหารงานตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 -ปัญหาการบริหารงานของตำบลในอดีต --ปัญหาการบริหารงานของตำบลและหมู่บ้านตามคำสั่ง ที่ 222/2499 --ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตำบล พ.ศ. 2499 --ปัญหาของสภาตำบลตามคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 275/2509 --ปัญหาของสภาตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 -องค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 --ความเป็นมา --อาณาเขต --การจัดรูปการปกครองและการบริหาร --องค์ประกอบของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล --อำนาจหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล --องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล --อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล --อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล --ขอบเขตในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล --การแบ่งส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตำบล --เงินค่าตอบแทน --รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล --รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล --การจัดทำงบประมาณและการตรวจสอบ --บทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลต่อองค์การบริหารส่วนตำบล --บทบาทหน้าที่ของอำเภอ จังหวัด ต่อองค์การบริหารส่วนตำบล --มาตรการในการกำกับดูแลองค์การบริหารส่วนตำบล บทที่ 5 ผลการวิจัยภาคสนาม -ส่วนที่ 1 ผลการวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร อบต. --ด้านการจัดโครงสร้างและระบบงานของ อบต. --ด้านการบริหารบุคคลของ อบต. --ด้านการคลังและงบประมาณของ อบต. --ด้านการบริหารพัสดุของ อบต. -ส่วนที่ 2 บทบาทของอำเภอและจังหวัดในการกำกับดูแล อบต. --ด้านการจัดโครงสร้างและระบบงาน --ด้านการบริหารงานบุคคล --ด้านการคลังและงบประมาณ --ด้านการบริหารพัสดุ บทที่ 6 อภิปรายผล -การบริหารงานของ อบต. --ด้านการจัดโครงสร้างและระบบงาน --ด้านการบริหารงานบุคคล --การบริหารการคลังและงบประมาณ --ด้านการบริหารพัสดุ -ปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล --ด้านโครงสร้างและระบบงาน --ด้านการบริหารงานบุคคล --ด้านการบริหารการคลังและงบประมาณ --ด้านการบริหารพัสดุ --ข้อสังเกตเพิ่มเติม --ปัญหาในการกำกับดูแลของอำเภอและจังหวัด บทที่ 7 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -แบบสัมภาษณ์ โครงการวิจัยเรื่อง ปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล (สำหรับปลัดจังหวัด ผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น นายอำเภอ และปลัดอำเภอ) (แบบ 1) -แบบสัมภาษณ์ โครงการวิจัยเรื่อง ปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล (สำหรับผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล) (แบบ 2) -แบบสังเกตการณ์ โครงการวิจัยเรื่อง ปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล (ประกอบการสัมภาษณ์ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล) (แบบ 3) -ประมวลภาพการเก็บข้อมูลภาคสนาม --สภาพบริเวณที่ทำการ อบต. --สภาพภายในสำนักงาน --บุคลากรของ อบต. --บรรยากาศการเก็บข้อมูลภาคสนาม รายนามคณะผู้จัดทำ ปกหลัง2539รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รูปแบบพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเรา สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ปี พ.ศ. 2554สุทิติ ขัตติยะ; วิไลลักษณ์ สุวจิตตานนท์; เอกรงค์ ปั้นพงษ์ (สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์, 2554-08)ปกหน้า คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหารภาษาไทย Executive Summary กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -หลักการและเหตุผล -วัตถุประสงค์ -แนวทางการดำเนินการ -ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย -กรอบแนวคิดในการประเมินผล -สมมติฐานสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ -คำนิยามศัพท์เฉพาะ -ผลสัมฤทธิ์ของโครงการที่คาดหวัง -ผลที่คาดว่าได้รับ บทที่ 2 แนวทางการศึกษา -แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับวิทยุกระจายเสียง -แนวคิดเกี่ยวกับวิทยุท้องถิ่นหรือวิทยุชุมชน -โครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" -ทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการเลือกสรรข่าวสาร -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -ประชากรที่ศึกษา -ขอบเขตการประเมิน -เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ -การวิเคราะห์ข้อมูล -การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล -ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณ -ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา -สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ -สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ -สรุปผลรวมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ -อภิปรายผลการวิจัย -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสอบถามโครงการประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง รายการ "รัฐสภาของเรา" สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) กรมประชาสัมพันธ์ -ภาคผนวก ข รายชื่อผู้ให้ข้อมูลหลักในการสนทนากลุ่มการวิจัยประเมินผลโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น รายการ "รัฐสภาของเรา" ประจำปีงบประมาณ 2554 -ภาคผนวก ค รายชื่อคณะทำงานวิจัยและประเมินผลโครงการ -ภาคผนวก ง รายชื่อ สวท. ภูมิภาค 46 แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการ สารบัญรูปภาพประกอบ -ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียงในเชิงปริมาณ -ภาพประกอบที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียงในเชิงคุณภาพ -ภาพประกอบที่ 3 แสดงสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ -ภาพประกอบที่ 4 แสดงสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 จำนวนความถี่และค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ -ตารางที่ 2 จำนวนความถี่และค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามระดับการศึกษาสูงสุด -ตารางที่ 3 จำนวนความถี่และค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอาชีพ -ตารางที่ 4 จำนวนความถี่และค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามรายได้ -ตารางที่ 5 รูปแบบพฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุรัฐสภาของเรา -ตารางที่ 6 ความคิดเห็นต่อรายการวิทยุรัฐสภาของเรา -ตารางที่ 7 ผลที่ได้รับจากการฟังรายการวิทยุรัฐสภาของเรา -ตารางที่ 8 เปรียบเทียบรูปแบบพฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุรัฐสภาของเราจำแนกตามเพศ -ตารางที่ 9 เปรียบเทียบพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามอาชีพ -ตารางที่ 10 ทดสอบค่าแตกต่างรายคู่ของทดสอบค่าแตกต่างรายคู่ของพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามการอาชีพ -ตารางที่ 11 เปรียบเทียบพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามการศึกษา -ตารางที่ 12 ทดสอบค่าแตกต่างรายคู่ของพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามการศึกษา -ตารางที่ 13 เปรียบเทียบพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามรายได้ -ตารางที่ 14 ทดสอบค่าแตกต่างรายคู่ของพฤติกรรมการรับฟังรายการรัฐสภาของเราเมื่อจำแนกตามรายได้ ปกหลัง2554-08รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ การประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง "รัฐสภาของเรา" ของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์สุทิติ ขัตติยะ; ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ (สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์, 2552)ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -หลักการและเหตุผล -วัตถุประสงค์ -แนวทางการดำเนินการ -ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย -กรอบแนวคิดในการประเมินผล -คำนิยามศัพท์เฉพาะ -ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ผลสัมฤทธิ์ของโครงการที่คาดหวัง บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -เทคนิคเดลฟายและการประยุกต์ใช้ -คุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -ประชากรที่ศึกษา -ขอบเขตการประเมิน -เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ -การวิเคราะห์ข้อมูล -สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล -การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล -ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การประเมินเบื้องต้น -ตอนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพด้วยเทคนิคเดลฟาย บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ปัญหาและอุปสรรค -ผลการวิจัย -อภิปรายผล -ข้อเสนอแนะ -ปัญหาและอุปสรรค สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 แสดงการลดลงของความคลาดเคลื่อนกับจำนวนผู้เชี่ยวชาญที่มากขึ้น -ตารางที่ 2 ข้อดีของการสัมภาษณ์และแบบสอบถาม -ตารางที่ 3 ข้อจำกัดของการสัมภาษณ์และแบบสอบถาม -ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนของระดับความพึงพอใจในคุณภาพการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" จำแนกตามสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยในภูมิภาคแต่ละแห่ง -ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละ มัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อรายการ "รัฐสภาของเรา" โดยภาพรวม -ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละ มัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อรายการ "รัฐสภาของเรา" จำแนกเป็นรายด้าน สารบัญภาพประกอบ -ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพรายการวิทยุกระจายเสียง "รัฐสภาของเรา" -ภาพประกอบที่ 2 แสดงผลรวมการวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพและเชิงปริมาณ ปกหลัง2552รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ การประเมินผลโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา"สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551-09)ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1. หลักการและเหตุผล -2. วัตถุประสงค์ของการประเมินผล -3. ขอบเขตของการประเมินผล -4. ระเบียบวิธีการประเมินผล --4.1 วิธีการประเมินผล --4.2 กลุ่มตัวอย่าง --4.3 การกำหนดขนาดตัวอย่าง --4.4 พื้นที่ที่ใช้ในการสำรวจ --4.5 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล --4.6 การประเมินผล --4.7 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล --4.8 การวิเคราะห์ข้อมูล -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การประเมินผลโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" (ภาพรวมทุกพื้นที่) -ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป -ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" -ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจในการรับฟังรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" -ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์ที่ได้จากการรับฟังรายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" -ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อให้รายการวิทยุท้องถิ่น "รัฐสภาของเรา" เป็นรายการที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเยาวชนได้ดียิ่งขึ้น และมีกลุ่มเยาวชนสนใจรับฟังมากขึ้น -ส่วนที่ 6 ผลการทดสอบสมมติฐาน บทที่ 3 การเปรียบเทียบผลการประเมินโครงการผลิตรายการวิทยุท้องถิ่น (รัฐสภาของเรา" (แยกรายจังหวัด) -1. จังหวัดขอนแก่น -2. จังหวัดหนองคาย -3. จังหวัดนครพนม -4. จังหวัดบุรีรัมย์ -5. จังหวัดเชียงราย -6. จังหวัดแม่ฮ่องสอน -7. จังหวัดตาก -8. จังหวัดนครสวรรค์ -9. จังหวัดชุมพร -10. จังหวัดระนอง -11. จังหวัดปัตตานี -12. จังหวัดสตูล -13. จังหวัดจันทบุรี -14. จังหวัดตราด -15. จังหวัดเพชรบุรี -16. จังหวัดสุพรรณบุรี บทที่ 4 สรุป วิเคราะห์ เสนอแนะ -สรุป และวิเคราะห์ผลการประเมินโครงการ -ข้อเสนอแนะจากผู้วิจัย ภาคผนวก -แบบสอบถาม ปกหลัง2551-09รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายเพื่อปฏิรูปกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560สุรพล ศรีวิทยา (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2563)ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทสรุปเชิงนโยบาย (Policy Brief) บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 การทบทวนวรรณกรรม --2.1.1 ความหมายของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.2 ประวัติพัฒนาการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.3 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.4 ความสำคัญของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.5 ความจำเป็นของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.6 ขั้นตอนการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.7 หลักเกณฑ์และวิธีการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --2.1.8 พัฒนาการของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --2.1.9 ปัญหาการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --2.1.10 การประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) กับการปฏิรูปกฎหมายในประเทศไทย --2.1.11 การประเมินคุณภาพของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.1.12 แนวคิดเรื่องมาตรา 77 ของนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย และศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองาม -2.2 กรอบความคิดการวิจัย (Conceptual Framework) -2.3 กรอบแนวคิดทฤษฎี (Theoretical Framework) --2.3.1 แนวคิดทฤษฎีกาประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) --2.3.2 แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการออกกฎหมาย --2.3.3 แนวคิดทฤษฎีการตรวจสอบคุณภาพของการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --2.3.4 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนากฎหมายและการปฏิรูปกฎหมาย -2.4 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.5 สมมติฐานการวิจัย บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) -3.2 การสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่มย่อย -3.2.1 ประชากรเป้าหมายและกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ -3.2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.2.3 การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation) -3.2.4 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิจัย -4.1 การพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในต่างประเทศ --4.1.1 ประวัติพัฒนาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในต่างประเทศ --4.1.2 กลไกกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย(RIA) ในต่างประเทศ ---1. แนวความคิดของการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของ OECD ---2. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับกลุ่มประเทศเอเปก ---3. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับประเทศกำลังพัฒนา ---4. การนำกลไกประเมินผลกระทบของกฎหมายของโออีซีดีไปใช้กับกลุ่มประเทศแอฟริกา --4.13 กรณีศึกษาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ของต่างประเทศ ---1. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา ---2. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศอังกฤษ ---3. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศเยอรมนี ---4. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศโปแลนด์ ---5. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศออสเตรเลีย ---6. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศนิซีแลนด์ ---7. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศญี่ปุ่น ---8. กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในประเทศมาเลเซีย -4.2 การพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --4.2.1 ประวัติพัฒนาการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ในประเทศไทย --4.2.2 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย ---1. ก่อนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช้ ---2. ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จนถึงปัจจุบัน --4.2.3 รูปแบบกลไกและหลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย ---1. รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติ ---2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 ---3. ระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 ---4. หลักเกณฑ์ในการตรวจสอบความจำเป็นในการตราพระราชบัญญัติ ---5. คู่มือตรวจสอบความจำเป็นในการตรากฎหมาย --4.2.4 กระบวนการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย --4.2.5 แนวทางการประเมินผลกระทบในการออกกฎหมายของประเทศไทย -4.3 กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 --4.3.1 การประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) เป็นแนวนโยบายแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญ --4.3.2 หลักการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ---1. หลักการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 77 ---2. หลักการในการปฏิรูปกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 258 ค. ---3. หลักการในยุทธศาสตร์ชาติเพื่อปฏิรูปกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 65 ---4. หลักการในการจัดแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 259 --4.3.3 หลักเกณฑ์และวิธีการในการประเมินผลกระทบของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ---1. หลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ---2. หลักเกณฑ์การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.3.4 หลักการนำการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ไปใช้ในการปฏิรูปกฎหมาย --4.3.5 กลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ---1. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในการสร้างกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---2. เหตุผลความจำเป็นของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่าง ---3. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2560 ---4. หน้าที่หน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2560 ---5. ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับการเข้ามามีส่วนร่วมตามพระราชบัญญัตินี้ --4.3.6 ข้อคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ---1. ข้อคิดเห็นของศาสตราจารย์พิเศษธานิศ เกศวพิทักษ์ ---2. ข้อคิดเห็นของรองศาสตราจารย์สุดา วิศรุตพิชญ์ ---3. ข้อคิดเห็นของนายอรรถสิทธิ์ กันมล และนายจุมพล ศรีจงศิริกุล -4.4 บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.4.1 ประวัติพัฒนาการของกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐสภาต่างประเทศ --4.4.2 บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---1. บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการจัดทำประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---2. บทบาทของรัฐสภาต่างประเทศในการตรวจสอบการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---3. กลไกการเฝ้าระวังการประเมินผลกระทบของกฎหมายในสหภาพยุโรป ---4. การประเมินความยั่งยืน (SIA) กับการประเมินผลกระทบของกฎหมายในต่างประเทศ ---5. แนวโน้มบทบาทสหภาพยุโรปในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.4.3 บทบาทของรัฐสภาไทยในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---1. หลักการของพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายในรัฐสภาไทย ---2. กลไกของรัฐสภาไทยในการเสนอร่างกฎหมายและการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---3. กลไกของรัฐสภาไทยในการตรวจสอบคุณภาพการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---4. การเปรียบเทียบบทบาทของรัฐบาลกับรัฐสภาในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย ---5. วิเคราะห์บทเรียนในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ของประเทศไทย -4.5 ข้อคิดเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมาย --4.5.1 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายนิติบัญญัติของรัฐสภา --4.5.2 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายบริหารของรัฐบาล --4.5.3 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลฝ่ายตุลาการของศาล --4.5.4 ข้อคิดเห็นของกลุ่มบุคคลภาคเอกชนและภาคประชาชน --4.5.5 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชาการ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล -5.2 สรุปผลรายงานการประชุมสัมมนาวิชาการเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อผลวิจัย -5.3 ข้อเสนอแนะของการวิจัย --5.3.1 ข้อเสนอแนะจาการวิจัยครั้งนี้ --5.3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 -ภาคผนวก ข รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยงานที่เข้าร่วมการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่มย่อย -ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview Form) -ภาคผนวก ง การประชุมสัมมนาวิชาการ เรื่อง บทบาทของรัฐสภาในการพัฒนากลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายเพื่อปฏิรูปกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -ภาคผนวก จ รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการ ประวัติผู้วิจัย สารบัญตาราง -ตารางที่ 3.1 ตารางแผนดำเนินการศึกษาวิจัย -ตารางที่ 4.1 ตารางเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของรัฐสภากับรัฐสภาในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย สารบัญภาพ -ภาพที่ 2.1 กรอบความคิดการวิจัย -ภาพที่ 2.2 แสดงระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน -ภาพที่ 4.1 กระบวนการประเมินผลกระทบก่อนการตรากฎหมายของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย -ภาพที่ 4.2 แสดงภาพรวมวิธีการดำเนินการก่อนการตรากฎหมายของประเทศมาเลเซีย -ภาพที่ 4.3 แสดงหลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ -ภาพที่ 4.4 แสดงการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำร่างกฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบของกฎหมาย -ภาพที่ 4.5 การนำกลไกการประเมินผลกระทบของกฎหมายไปใช้ในกลุ่มประเทศสมาชิกขององค์การ OECD ปกหลัง2563รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง บทบาทรัฐสภาในการพัฒนากลไก ระเบียบ กฎหมายที่เสริมสร้างขีดความสามารถด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม = The Role of Thai Parliament in Development of Legal Mechanisms to Strengthen the Capacity of Cultural Tourismเฉลิมศักดิ์ บุญนำ (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2560)ปก กิตติกรรมประกาศ บทสรุปเชิงนโยบาย (Policy Brief) บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.3 ขอบเขตของการวิจัย -1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดทฤษฎี -2.1 ระบบรัฐสภาไทย -2.2 บทบาทหน้าที่ของรัฐสภา -2.3 ความหมายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -2.4 แนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -2.5 กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -2.6 แนวทางการปฏิรูปด้านการท่องเที่ยวให้มีศักยภาพและขีดความสามารถ -2.7 มาตรการทางกฎหมายต่างเทศที่เกี่ยวกับการควบคุมธุรกิจนำเที่ยว -2.8 กฎหมายด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.10 กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -3.1 แนวทางและวิธีการวิจัย -3.2 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) -3.3 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) บทที่ 4 ผลการวิจัย -4.1 ศึกษาสภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวและการบังคับใช้กฎหมายที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -4.2 ศึกษาการพัฒนากลไก ระเบียบ กฎหมาย นโยบายภาครัฐที่เสริมสร้างขีดความสามารถด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -4.3 แนวทางการเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการจัดการท่องเที่ยงเชิงวัฒนธรรม -4.4 บทบาทรัฐสภาต่อการพัฒนากลไก ระเบียบ กฎหมาย นโยบายภาครัฐที่เสริมสร้างขีดความสามารถด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บทที่ 5 บทสรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 อภิปรายผล -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก ภาพประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย -ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ์ ประวัตินักวิจัย สารบัญภาพ -ภาพที่ 1 การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) -ภาพที่ 2 แผนผังอำนาจหน้าที่ของรัฐสภา -ภาพที่ 3 กรอบแนวคิดการวิจัย -ภาพที่ 4 การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) -ภาพที่ 5 ปัจจัยกำหนดการสร้างขีดความสามารถในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -ภาพที่ 6 แนวคิดการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม2560