2.04.05.03 เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล (นบส.) รุ่นที่ 2

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 39
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รวมรายงานผลการศึกษาการถกแถลงการศึกษาดูงานในประเทศ การศึกษาดูงานในต่างประเทศ และรายงานกรณีศึกษากลุ่ม กลุ่มที่ 2 : เอกสารวิชาการ
    วีรยุทธ เจริญกูล (รัฐสภา, 2550)
    ปกหน้า คำนำ สารบัญ รายงานการถกแถลง -1. นโยบายสาธารณะ --ลักษณะสำคัญของนโยบายสาธารณะ --ความสำคัญของนโยบายสาธารณะ --กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ --ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับนโยบายสาธารณะ -2. ปัญหาของกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะในประเทศไทย --ประชาธิปไตยในประเทศไทย --ข้อจำกัดในการกำหนดนโยบายสาธารณะในประเทศไทย -3. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายสาธารณะ -4. บทสรุปและเสนอแนะ : แนวการการเพิ่มพูนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายสาธารณะให้เกิดผลเป็นรูปธรรม บรรณานุกรม ภาคผนวก -ข้อมูลนำเสนอการถกแถลงโดย program power point คำนำ สารบัญ รายงานการถกแถลง -1. ความเป็นจริงและสภาพปัญหา -2. คำนิยม --- การประสานงาน --- กระบวนการนิติบัญญัติ --- หน่วยงานภายนอก --- หน่วยงานภายใน -3. ประเภทของการประสานงาน --(1) การประสานงานที่เป็นทางการ --(2) การประสานงานที่ไม่เป็นทางการ -4. องค์ประกอบของการประสานงานที่ดี --4.1 การจัดระเบียบการประสานงาน --4.2 นโยบาย --4.3 บุคลากรในองค์กร -5. ลักษณะผู้ปฏิบัติงานที่มีการประสานงานที่ดี --(1) สังคมดีมีมนุษย์มพันธ์ --(2) ฉลาดและรอบรู้ --(3) มีความรับผิดชอบสูง และรักการทำงานร่วมกับผู้อื่น --(4) ต้องมีบารมี -6. ประโยชน์ของการประสานงาน -7. ปัญหาอุปสรรคของการประสานงาน -8. สภาพความจริงของการประสานงานระหว่างหน่วยงานนิติบัญญัติและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนิติบัญญัติ --8.1 การประสานงานกับสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี --8.2 การประสานงานกับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา --8.3 การประสานงานกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง --8.4 การประสานงานกับสำนักงานเลขาธิการวัฒิสภา -9. แนวทางแก้ไขและการประสานงาน -10. บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก -ข้อมูลนำเสนอการถกแถลงโดย program power point คำนำ สารบัญ รายงานการถกแถลง บทที่ 1 บทนำ -1. การพัฒนาและการบริหารการเปลี่ยนแปลง -2. ภาวะผู้นำและการสร้างทีมงาน -3. การนำเทคโนโลยีสารสมเทศมาใช้ในการบริหาร บทที่ 2 การบริหารอย่างมืออาชีพและการบริหารคน -ส่วนที่ 1 ความหมายของการบริหารและระดับบริหาร -ส่วนที่ 2 การบริหารมืออาชีพ --(1) การบริหารงาน ---หลักและกระบวนการบริหาร ---ลักษณะเด่นที่เป็นสากลของการบริหาร ---การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ---ปัจจัยการบริหาร ---ข้อจำกัดทางการบริหาร ---หลักการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ---บทบาทและสมรรถภาพของผู้บริหาร --(2) การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ผล (Result Based Management - RBM) ---วัตถุประสงค์ของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ---ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ---กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการ --(3) ภาวะผู้นำและการตัดสินใจ ---ความหมาย ---ความแตกต่างของ ผู้นำ และ ภาวะผู้นำ ---บทบาทของผู้นำ (LEADERSHIP ROLE) --(4) การบริหารคน ---1) ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resourc Management) ---2) นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ---3) การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning) ---4) การบริหารคนอย่างมืออาชีพ ---5) การวิเคราะห์การบริหารคน --(5) การสร้างทีมงาน ---ลักษณะของทีมที่มีประสิทธิภาพ ---การพัฒนาทีม (Stages of team development) --(6) การพัฒนาองค์กร ---วัตถุประสงค์ในการพัฒนาองค์กร ---หลักเบื้องต้นในการพัฒนาองค์การ ---ปัจจัยส่งผลเมื่อมีการพัฒนาองค์การ บทที่ 3 สรุปและข้อเสนอแนะ -คนในวาทกรรมการบริหาร (Man in Management Discourse) บรรณานุกรม สารบัญ บทที่ 1 "ผู้บริหาร" -ความหมาย "ผู้บริหาร" -ความสำคัญ บทบาท และคุณลักษณะที่ดีของ "ผู้บริหาร" บทที่ 2 "หลักการและหลักธรรมเกี่ยวกับความสุข" -หลักการว่าด้วยความสุข -หลักธรรมว่าด้วยความสุข บทที่ 3 "ความสุขในบริบทของผู้บริหาร" บทที่ 4 บทสรุป ภาคผนวก : -ก. หลักธรรมบางประการที่น่าสนใจสำหรับผู้บริหาร -ข. "ศิลปการบริหารงานของหัวหน้างาน"[พันเอก เอนก แสงสุก] -ค. "คุณภาพชีวิตการทำงาน"[ผจญ เฉลิมสาร] คำนำ สารบัญ รายงานการศึกษาดูงาน ณ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา -บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา --- ความเป็นมา --- อำนาจหน้าที่ --- โครงสร้างสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา -ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน -ข้อเสนอแนะจากการศึกษาดูงาน คำนำ สารบัญ ความเป็นมา วิสัยทัศน์ของ ปตท. การพัฒนาโครงสร้างองค์กรของ ปตท. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ธุรกิจสำรวจ ผลิต และก๊าซธรรมชาติ การประกอบธุรกิจก๊าซธรรมชาติของกลุ่ม ปตท. การกำกับดูแลกิจการ ผลตอบแทนที่คืนให้กับภาครัฐ การบริหารจัดการบริษัทมหาชน องค์กรที่เป็นเลิศ (High Performance Organization) การบริหารจัดการบุคลากร การบริหารจัดการความรู้ของกลุ่ม ปตท. หลักสำคัญในการดำเนินธุรกิจและการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืน ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ข้อเสนอเเนะจากการศึกษาดูงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก -ก. แผนภูมิที่ ปตท. นำเสนอ โดยโปรแกรม power point -ข. ภาพประกอบการศึกษาดูงาน คำนำ สารบัญ กรณีศึกษา 3 จังหวัด -จังหวัดหนองคาย --1. ข้อมูลพื้นฐาน --2. ความเป็นมาและความสำคัญของการกำหนดยุทธศาสตร์ --3. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ --4. ยุทธศาสตร์ --5. การบริหารยุทธศาสตร์ --6. การบริหารการเปลี่ยนแปลง --7. สรุป จังหวัดนครพนม -1. ข้อมูลพื้นฐาน -2. ความเป็นมาและความสำคัญของการนำยุทธศาสตร์ -3. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ -4. ยุทธศาสตร์ -5. การบริหารยุทธศาสตร์ -6. การบริหารการเปลี่ยนแปลง -7. สรุป จังหวัดอุบลราชธานี -1. ข้อมูลพื้นฐาน -2. ความเป็นมาและความสำคัญของการนำยุทธศาสตร์ -3. กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ -4. ยุทธศาสตร์ -5. การบริหารยุทธศาสตร์ -6. การบริหารการเปลี่ยนแปลง -7. สรุป คำนำ สารบัญ พิพิธภัณฑ์ เมืองโอ๊ดแลนด์ -ข้อมูลทั่วไป --สถานที่ตั้งและภูมิทัศน์ --เวลาทำการ --ค่าใช้จ่ายในการเข้าเยี่ยมชม --ประเภทโบราณวัตถุและสิ่งสะสมต่างๆ ในพิพิธภัณฑ์ --อาคารพิพิธภัณฑ์ --ประเด็นความรู้ที่ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับนิวซีแลนด์ : คน ศิลปะ และวัฒนธรรม -ประโยชน์จากการศึกษาดูงาน -ข้อเสนอเเนะจากการศึกษาดูงาน คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1. ความสำคัญและสาเหตุของปัญหา -2. วัตถุประสงค์ในการศึกษา -3. วิธีการศึกษา -4. ขอบเขตของการศึกษา -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในชั้นสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 -1. กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในชั้นสภาผู้แทนราษฎร -2. กระบวนการพิจรารณาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในชั้นวุฒิสภา -3. การถวายร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระลงพระปรมาภิไธย บทที่ 3 หลักการประสานงาน -1. แนวคิดเรื่องหลักการประสานงาน -2. วัตถุประสงค์ของการประสานงาน -3. การประสานงานที่ดีมีประสิทธิภาพ -4. เทคนิควิธีการประสานงาน บทที่ 4 องค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและปัญหาอุปสรรคการประสานงาน -1. องค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --1.1 กระทรวง ทบวง กรม --1.2 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี --1.3 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา --1.4 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --1.5 คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร -2. ปัญหาอุปสรรคของการประสานงานในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ บทที่ 5 แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการประสานงาน การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในชั้นสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -1. บทสรุป -2. ข้อเสนอเเนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -รายนามคณะผู้จัดทำ ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา
    คม แสงแก้ว (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สารบัญ บทที่ ๑ การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา -ความเป็น มาและสภาพปัญหา -วัตถุประสงค์ในการศึกษา -สมมุติฐานในการศึกษา -ขอบเขตเนื้อหาและระยะเวลาในการศึกษา -วิธีการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -นิยามศัพท์ บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดในการพัฒนางานด้านรักษาความปลอดภัย -ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ ๓ บทบาทหน้าที่การการรักษาความปลอดภัย -วิสัยทัศน์ -พันธกิจ -อำนาจหน้าที่สำนักรักษาความปลอดภัย --โครงสร้างสำนักรักษาความปลอดภัยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น ๕ กลุ่มงาน --กลุ่มงานอำนวยการรักษาความปลอดภัย --กลุ่มงานเทคโนโลยีรักษาความปลอดดภัย --กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย --กลุ่มงานอาคารสถานที่ --กลุ่มงานอารักขาบุคคลสำคัญ บทที่ ๔ วิธีการศึกษาและผลที่ได้รับ -วิธีการศึกษา -ผลการศึกษา บทที่ ๕ สรุปผลและข้อเสนอแนะ -สรุปผลการศึกษา -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของห้องสมุดรัฐสภาศึกษาเฉพาะกรณี วารสารต่างประเทศ
    กัลยญาณี ฉูนฉลาด (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทคัดย่อ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและสภาพปัญหา -วัตถุประสงค์ -วิธีการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -นิยามศัพท์ -ประโยชน์ที่จะได้รับ บทที่ ๒ วรรกรรม (เอกสาร) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -กรอบแนวคิด -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ -การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศประเภทวารสาร -การดำเนินการจัดหาวารสารในปัจจุบัน บทที่ ๓ การพัฒนาการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง -ห้องสมุดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย -การดำเนินงานของห้องสมุดรัฐสภา (กลุ่มงานห้องสมุด) -การจัดการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดรัฐสภาในบริบทของการเปลี่ยนแปลง -การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ : ฐานความคิดจากประสบการณ์ -กลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ ๔ การพัฒนาจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของห้องสมุดรัฐสภา (เฉพาะวารสารต่างประเทศ) ด้วยระบบ E-Commerce -รายชื่อวารสารที่ขออนุมัติจัดซื้อประจำปีงบประมาณ -ปัญหาของการดำเนินการจัดซื้อวารสารต่างประเทศในปัจจุบัน -ความเป็นมาของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย -คนไทยกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -นโยบายของรัฐ -การพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย -การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) -ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -รูปแบบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -การชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม (Electronic Payment) -ความจำเป็นของการจัดซื้อผ่านระบบ บทที่ ๕ บทสรุป ปัญหา และข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ปัญหา -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพด้านข้อมูลสนับสนุนงานของคณะกรรมาธิการการแรงงาน
    ชยาทิตย์ ภาสบุตร (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สารบัญ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและสภาพปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -คำนิยามศัพท์ -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ ทฤษฎี แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้อง -การจัดการความรู้ --ความหมายขององค์ความรู้ --ประเภทของความรู้ --ความหมายของการบริหารจัดการองค์ความรู้ --องค์ประกอบของการบริหารจัดการองค์ความรู้ --กระบวนการจัดการความรู้ --ประโยชน์ของการบริหารจัดการความรู้ -การจัดทำฐานข้อมูล --การจัดทำฐานข้อมูล บทที่ ๓ ระบบกรรมาธิการของรัฐสภาและโครงสร้างองค์กรรองรับงานของคณะกรรมาธิการ -ความสำคัญและประโยชน์ของระบบกรรมาธิการ -อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ -ประเภทของคณะกรรมาธิการ -องค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ -การลงมติ -คณะทำงานของคณะกรรมาธิการ บทที่ ๔ การศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรคในการเพิ่มประสิทธิภาพด้านข้อมูล สนับสนุนงานของคณะกรรมาธิการการแรงงาน -ขาดระบบการกลั่นกรองเรื่องร้องเรียน -ข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานที่ใช้ในการปฏิบัติงานอยู่กระจัดกระจาย บทที่ ๕ การปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพด้านข้อมูลสนับสนุนงานของคณะกรรมาธิการการแรงงาน -ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการสนับสนุุนข้อมูล โดยการนำแนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการมาปรับใช้ --การจัดการความรู้ (Knowledge) --การจัดทำฐานข้อมูล --การปรับปรุงจัดทำข้อมูล --การปรับปรุงจัดทำฐานข้อมูล --ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล บทที่ ๖ บทสรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาประสิทธิภาพการสนับสนุนงานด้านนิติบัญญัติของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    จีรพงศ์ วัฒนะรัตน์ (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -สมมติฐานการศึกษา -วัตถุประสงค์การศึกษา -วิธีการดำเนินการศึกษา -นิยามศัพท์ -ขอบเขตของการศึกษา -ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา บทที่ ๒ แนวคิดทฤษฎี ในการพัฒนา/ความหมายของขอบเขตของงานนิติบัญญัติ -แนวคิดทฤษฎี ในการพัฒนา/ความหมายของขอบเขตของงานนิติบัญญัติ -ความหมายและขอบเขตของงานนิติบัญญัติ บทที่ ๓ รูปแบบขององค์การและการปฏิบัติงานของฝ่ายนิติบัญญัติ -การพัฒนาและการปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานในสังกัดรัฐสภาเพื่อรองีรับการปฏิบัติงานของฝ่ายนิติบัญญัติ -การรวมสำนักงานเลขาธิการพฤฒิสภาและสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นหน่วยงานเดียวกัน บทที่ ๔ การศึกษาเชิงเปรียบเทียบบทบาทภารกิจด้านนิติบัญญัติของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและแนวทางในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานหลักด้านนิติบัญญัติ -การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ -แนวทางในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานหลักด้านนิติบัญญัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านนิติบัญญัติ บทที่ ๕ สรุป/เสนอแนะ -สรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านเลขานุการในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
    ทองคำ แก้วพรม (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ สารบัญ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมา -สภาพปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดเกี่ยวกับงานเลขานุการในที่ประชุม --แนวคิดเกี่ยวกับงานเลขานุการ ---ความหมายของเลขานุการ ---คุณสมบัติของเลขานุการที่ดี --แนวคิดเกี่ยวกับการประชุม ---ความหมายและประเภทของการประชุม ---ความสำคัญของการประชุม ---ประโยชน์ของการประชุม ---เลขานุการกับการประชุม -แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจเพิ่มเพิ่มประสิทธิภาพ --ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรงจูงใจ --ทฤษฎีความต้องการขอวมาสโลว์ --ลักษณะสำคัญของทฤษฎีของมาสโลว์ -แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงาน บทที่ ๓ บทบาทหน้าที่ของเลขานุการในที่ประชุม -การบริการเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประชุม -การจดประเด็น การอภิปรายและติดตามผลการพิจารณา -การอำนวยความสะดวก -การตรวจนับองค์ประชุมสภาและนับคะแนนเสียง -การจับเวลาการอภิปราย -การบริการทั่วๆ ไป บทที่ ๔ การวิเคราะห์สภาพปัญหา บทที่ ๕ การเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านเลขานุการในที่ประชุมสภา -บุคลากร -การสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในการทำงาน -เทคโนโลยีสารสนเทศ -ระบบการสืบค้นกฎหมายไทย -ระบบการบริหารจัดการ บทที่ ๖ บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างความเชี่ยวชาญในสายงานศึกษาเฉพาะกรณี : สายงานนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    เจษฎาพร นนทพันธ์ (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมา -สภาพปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -นิยามศัพท์เฉพาะ -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -บทบาทหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร -บทบาทหน้าที่ของสำนักพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร --วิสัยทัศน์สำนักพัฒนาบุคลากร -บทบาทหน้าที่ของนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล --บทบาทหน้าที่ตามกำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 5 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 6 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 8 ---นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 9 --บทบาทหน้าที่ตามผลการศึกษาและวิจัยของบุคคล และหน่วยงานต่างๆ -หลักการกำหนดศักยภาพหรือขีดความสามารถ (conpetency) -แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บทที่ 3 ศักยภาพนักพัฒนาทรัพยากรบุุคคลและแนวทางการพัฒนา -ศักยภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติงาน ในตำแหน่งนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล -ปัญหาเกี่ยวกับศักยภาพของนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล -แนวทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสายงานนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล -แนวทางการพัฒนา บทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้เขียน ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรประจำคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม
    จุฑามาศ สมากิจวิไลกุล (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    --อำนาจหน้าที่ --ปัญหาและอุปสรรค -สำนักกรรมาธิการ -การพัฒนาประสิทธิภาพระบบราชการไทย --ทิศทางและแนวโน้มการปฏิรูปหน่วยงานราชการ -สมรรถนะ (competency) ในระบบราชการพลเรือนไทย บทที่ ๓ ผลการศึกษาข้อมูลต่างๆ -กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม -องค์ประกอบในการปฏิบัติงานของบุคลากรประจำคณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม --บุคลากร --ฐานข้อมูล --สถานที่ปฏิบัติงาน --อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ -กระบวนการปฏิบัติงานการประชุมในปัจจุบัน --ก่อนการประชุม --ระหว่างการประชุม --หลังการประชุม -การปฏิบัติงานการร่วมเดินทางไปศึกษาดุงานในประเทศ และต่างประเทศในปัจจุบัน --ก่อนการเดินทาง --ระหว่างเดินทาง -การปฏิบัติงานจัดการสัมมนาของคณะกรรมาธิการในปัจจุบัน --ก่อนการสัมมนา --ระหว่างการสัมมนา --หลังการสัมมนา -การปฏิบัติงานต้นอรับผู้มาเยือนจากต่างประเทศในปัจจุบัน -ปัญหา และอุปสรรคในการปฏิบัติงาน --กรรมาธิการ --บุคลากร หรือเจ้าหน้าที่ประจำคณะกรรมาธิการ --ฐานข้อมูล --สถานที่ปฏิบัติงาน --อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ ๔ สรุป วิเคราะห์ผลการศึกษา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ -บุคลากร -ฐานข้อมูล -สถานที่ปฏิบัติงาน -อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ -ผู้รับบริการ หรือกรรมาธิการ บรรณานุกรม ปกหลัง ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ -ขอบเขตการศึกษา -คำนิยามหรือศัพท์เฉพาะ -วิธีการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ ทฤษฎี แนวความคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -รัฐสภาของประเทศไทย -คณะกรรมาธิการของประเทศไทย --ประเภทของคณะกรรมาธิการ --อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ -สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --โครงสร้าง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยเลขานุการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
    นงนุช เศรษฐบุตร (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -สภาพปัญหาและอุปสรรค -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บทที่ ๒ แนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -ทฤษฎีศักยภาพการพัฒนาและการแพร่กระจาย (Debelopment Potemtial Diffusion Theory) --การสรราหว่าจ้างที่ไม่สมเหตุสมผล --การฝึกอบรมที่ไม่เพียงพอ --การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ --การวางนโยบายขององค์กร --หมดไฟ -ทฤษฎีการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Management by Results) --ภาพที่ ๑ แสดงโครงสร้างของการบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ --คุณลักษณะของบุคคลที่พึงประสงค์ (Competency) --วิสัยทัศน์ --วิสัยทัศน์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ---พันธกิจ ---ความหมายของพันธกิจ ---ลักษณะของพันธกิจที่ดี ---ประโยชน์ของพันธกิจ ---พันธกิจของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --ค่านิยมร่วม --ความสำคัญของการร่างกฎหมาย --ประเภทและลำดับศักดิ์ของกฎหมาย --คุณสมบัติของผู้ร่างกฎหมาย บทที่ ๓ บทบาทหน้าที่ของผู้ช่วยเลขานุการ -ก่อนการประชุมคณะกรรมาธิการ -ระหว่างการประชุมคณะกรรมาธิการ -หลังการประชุมคณะกรรมาธิการ -ประเด็นปัญหาและสาเหตุของปัญหา --ขีดความรู้ความสามารถของบุคลากร --บุคลากรขาดแรงจูงใจและการเรียนรู้งานอย่างต่อเนื่อง --ความซ้ำซ้อนในภาระหน้าที่ของบุคลากรที่มีต่อการปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการ --โครงสร้างขององค์กรไม่เอื้อต่องานพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --รูปแบบการดำเนินงานของผู้ช่วยเลขานุการยังไม่มีมาตรฐาน (เช่น การจัดทำเจตนารมณ์ร่างพระราชบัญญัติป --การแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการมีความแตกต่างกัน --แนวทางการพัฒนาศักยภาพและการประเมินผลของผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการยังไม่มีศักยภาพ บทที่ ๔ การพัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยเลขานุการ -ผู้ช่วยเลขานุการที่มีศักยภาพ -แนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยเลขานุการ --การเพิ่มศักยภาพให้บุคลากร --การสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากร --กำหนดภาระหน้าที่ของผู้ช่วยเลขานุการให้มีความชัดเจน --การปรับโครงสร้างขององค์กรให้สอดคล้องกับภารกิจ --สร้างแนวทางการดำเนินงานของผู้ช่วยเลขานุการให้เป็นไปในทางเดียวกัน --กำหนดมาตรฐานของผู้ช่วยเลขานุการ --มีแนวทางการพัฒนาศักยภาพและการประเมินผลของผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการอยางมีศักยภาพ -ระยะเวลาและแนวทางการพัฒนา --ระยที่ ๑ (ระยะ ๑-๒ ปี) ซึ่งสำนักกรรมาธิการสามารถดำเนินการได้ทันที --ระยะที่ ๒ (ระยะกลาง ๓ ปี) ซึ่งสำนักกรรมาธิการสามารถดำเนินการได้ --ระยะที่ ๓ (ระยะยาว ๕ ปี) ซึ่งสำนักกรรมาธิการสามารถดำเนินการได้ บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้จัดทำเอกสาร ปกหลัง
    2550
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาสายงานและมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ใช้ในราชการฝ่ายรัฐสภา
    นงลักษณ์ สถิตย์เสถียร (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550)
    ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ ๑ บทนำ -ความเป็นมาของการศึกษา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -ระเบียบวิธีการศึกษา -การเก็บรวบรวมข้อมูล -นิยามศัพท์ -ประโยชน์ที่จะได้รับจากศึกษา บทที่ ๒ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ --หลักคุณธรรม --หลักสมรรถนะ --หลักผลงาน --หลักกระจายอำนาจ --หลักความสมดุลระหว่างคุณภาพชีวิตและการทำงาน -สาระสำคัญเกี่ยวกับการจัดทำสายงาน --ความหมายของสายงาน --ประเภทของสายงาน --การจัดทำสายงาน -สาระสำคัญของการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของราชการฝ่ายบริหาร --ความหมายของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง --ส่วนประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง --หลักพื้นฐานทั่วไป --วิธีการเขียนมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง บทที่ ๓ มาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ใช้ในราชการฝ่ายรัฐสภาปัจจุบัน -ความเป็นมา/ความหมาย/รูปแบบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ใช้ในราชการฝ่ายรัฐสภา -ประโยชน์ของสายงานและมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง บทที่ ๔ แนวโน้มในอนาคตของการจัดทำสายงานและมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง -โครงสร้างชั้นงานและประเภทตำแหน่ง -วิธีการกำหนดตำแหน่ง บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2550