2.04.05.04 เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล (นบส.) รุ่นที่ 3

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 39
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านการติดตามและประมวลผลงานของวุฒิสภา
    ณัฐกร อ่วมบำรุง (รัฐสภา, 2551)
    ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีระบบ -แนวคิดหลักการและรูปแบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ บทที่ 3 สภาพทั่วไปของปัญหา -ปัญหาและสาเหตุ -ผลกระทบ บทที่ 4 แนวทางแก้ไข บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร : ศึกษากรณีวิศวกรรมความต้องการ Requirements Engineering : เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล
    คณวัฒน์ วงศ์แก้ว (รัฐสภา, 2551)
    ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญรูปภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1. เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องศึกษา -2. วัตถุประสงค์ -3. ขอบเขตการศึกษา -4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -5. วิธีการศึกษา -6. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับประสิทธิภาพและประสิทธิผล -2. บทบาทการพัฒนาซอฟต์แวร์ -3. วงจรการพัฒนาระบบ(System Development Life Cycle) สารบัญรูปภาพ -รูปภาพที่ 1 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) -4. วิศวกรรมซอฟต์แวร์(Software Engineering) -รูปภาพที่ 2 อัตราการ Fail ของฮาร์ดแวร์ -รูปภาพที่ 3 อัตราการ Fail ของซอฟต์แวร์ -รูปภาพที่ 4 ผลการสำรวจโครงการด้านซอฟต์แวร์โดย THE STANDISH GROUP 2003 -5. วิศวกรรมความต้องการ(Requirements Engineering) -รูปภาพที่ 5 Requirements Engineering Process -รูปภาพที่ 6 กระบวนการสกัดความต้องการ (Generic requirements elicition process) -รูปภาพที่ 7 Requirements Analysis and Negotiation Process สารบัญตาราง -ตารางที 1. โครงสร้างของ Requirements Document -รูปภาพที่ 8 Requirements Validation Process -รูปภาพที่ 9 Requirements Management -6. แผนแม่บทไอซีทีของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปี 2550-2554 บทที่ 3 ลักษณะการปฏิบัติงานและสภาพของปัญหา -1. สภาพปัจจุบันของหน่วยงาน -ตารางที่ 2. วิเคราะห์สถานภาพ ICT ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -2. สภาพทั่วไปของปัญหา -3. ปัญหาและสาเหตุกระบวนการพัฒนาระบบของสำนักสารสนเทศและกระบวนการพัฒนาระบบที่จัดจ้าง -4. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค -รูปภาพที่ 10 การวิเคราะห์อาการปัญหาและสาเหตุของปัญหา บทที่ 4 แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ -1. แนวทางการแก้ไข -รูปภาพที่ 11 Requirements Management -2. แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -1. สรุปผลการศึกษา -2. ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา -รูปภาพที่ 12 ตัวอย่างโปรแกรม Eclipse SDK -3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย -4. การศึกษาต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพงานวิชาการในการปฏิบัติหน้าที่ด้านเลขานุการของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา : เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล
    สุรัตน์ หวังต่อลาภ (รัฐสภา, 2551)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตการศึกษา -นิยามคัพท์ที่ใช้ในการศึกษา -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดเกี่ยวกับการทำงาน -การทำงานรูปแบบใหม่ สารบัญภาพ -ภาพที่ 1. รูปแบบการทำงาน -การจัดการความรู้ -ภาพที่ 2. ยุคของความรู้ -ภาพที่ 3. ลำดับของความรู้ -ภาพที่ 4. วงจรเรียนรู้ -แนวคิดคุณลักษณะของบุคคลที่พึงประสงค์ -วิสัยทัศน์ -ฟันธกิจ -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 สภาพของปัญหา -สภาพทั่วไปของปัญหา -ภาพที่ 5. สภาพปัญหาและสาเหตุการปฏิบัติหน้าที่ให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --1. ร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญยังมีข้อผิดพลาด ---1.1 คณะกรรมาธิการวิสามัญขาดข้อมูลประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติอย่างเพียงพอ ----- ผลกระทบ ---1.2 เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาที่ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมาธิการวิสามัญยังขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการร่างพระราชบัญญัติและเนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติ ----1) เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภามีการโอน/ย้ายจำนวนมาก ------ ผลกระทบ ----2) โครงสร้างองค์กรและลักษณะงานมีความไม่เหมาะสม ------ ผลกระทบ ----3) สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาขาดการส่งเสริมเจ้าหน้าที่เข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ------ ผลกระทบ ---1.3 ระยะเวลาการเตรียมการศึกษาร่างพระราชบัญญัติ และการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในขั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญมีระยะเวลาน้อย ----- ผลกระทบ ---1.4 จำนวนคณะกรรมาธิการวิสามัญมีมาก ----- ผลกระทบ --2. ประชาชน ผู้ใช้กฎหมาย หรือผู้ได้รับผลกระทบไม่สามารถเข้าถึง หรือรับรู้เกี่ยวกับความเป็นมา เนื้อหา และเจตนารมณ์ของกฎหมาย ---2.1 ความคิดเห็นและผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของคณะกรรมาธิการวิสามัญไม่ได้รับการเผยแพร่ ----- ผลกระทบ ---2.2 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภาไม่ได้ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ----- ผลกระทบ บทที่ 4 แนวทางแก้ไข -1. ร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญยังมีข้อผิดพลาด --1.1 คณะกรรมาธิการวิสามัญขาดข้อมูลประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติอย่างเพียงพอ --1.2 เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาที่ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญยังขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการร่างพระราชบัญญัติและเนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติ ---1) เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภามีการโอน/ย้ายจำนวนมาก ---2) โครงสร้างองค์กรและลักษณะงานมีความไม่เหมาะสม ---3) สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาขาดการส่งเสริมเจ้าหน้าที่เข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น --1.3 ระยะเวลาการเตรียมการศึกษาร่างพระราชบัญญัติ และการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในขึ้นคณะกรรมาธิการวิสามัญมีระยะเวลาน้อย --1.4 จำนวนคณะกรรมาธิการวิสามัญมีมาก -2. ประชาชน ผู้ใช้กฎหมาย หรือผู้ได้รับผลกระทบไม่สามารถเข้าถึง หรือรับรู้เกี่ยวกับความเป็นมา เนื้อหา และเจตนารมณ์ของกฎหมาย --2.1 ความคิดเห็นและผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของ คณะกรรมาธิการวิสามัญไม่ได้รับการเผยแพร่ --2.2 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภาไม่ได้ให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ -สรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณนานุกรม ภาคผนวก -1. แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2555) -2. ภารกิจของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการวิสามัญ -3. ขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ด้านเลขานุการของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการวิสามัญให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการข้อมูลทางวิชาการของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการทหาร : เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล
    ศุภลักษณ์ แป้นพัฒน์ (รัฐสภา, 2551)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตของการศึกษา -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ -แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ -ทฤษฎีการจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพขององค์กร (TQM) -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 คณะกรรมาธิการและองค์กรรองรับงานของคณะกรรมาธิการ -คณะกรรมาธิการ -องค์กรที่รองรับงานของคณะกรรมาธิการ บทที่ 4 วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข -ปัญหาและอุปสรรค -การแก้ไขปัญหา บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางในการดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบัญญัติด้านการเงิน การคลังและด้านงบประมาณ
    (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่1 คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -หลักการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Power) -ประวัติข้อบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้อง -บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (เฉพาะด้านการเงิน การคลัง และด้านงบประมาณ) -บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (เฉพาะด้านการเงิน การคลัง และด้านงบประมาณ) -เจตนารมณ์ของการตรารัฐธรรมนูญในมาตราที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ผลกระทบต่อการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -สภาพทั่วไป --กระบวนการงบประมาณของไทย --การจัดเตรียมงบประมาณรายจ่าย (budget Expenditures) --การอนุมัติงบประมาณของรัฐสภา --การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรแบ่งการพิจารณาออกเป็น 3 วาระ --การแปรญัตติ ยึดหลักเกณฑ์สำคัญในการพิจารณา -ผลกระทบ --ผลกระทบตามมาตรา 167 วรรคสาม --ผลกระทบตามมาตรา 168 วรรคแปด และ วรรคเก้า --ผลกระทบตามมาตรา 169 วรรคสาม --ผลกระทบตามมาตรา 170 --ผลกระทบตามมาตรา 305 (4) -ปัญหาที่เกิดกับการปฏิบัติราชการตามผลกระทบ ข้อ 2 --ปัญหาระบบงบประมาณ --ปัญหาระบบการเงิน --ระบบตรวจสอบ --ปัญหาการมีวินัยทางการเงิน การคลังฯ บทที่ 4 แนวทางในการดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -แนวทางการในการดำเนินการให้องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ มีอิสระในด้านการงบประมาณและการบริหารราชการ --ตารางที่ 1 งบประมาณที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2552 --ตารางที่ 2 งบประมาณที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้รับจัดสรรน้อยกว่าคำของบประมาณ -แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ และสัมฤทธิ์ผลในการปฏิบัติราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อตอบสนองบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 --การกำหนดกรอบวินัยการเงินการคลังขององค์การฝ่ายนิติบัญญัติ --การกำหนดแผนการเงินระยะปานกลาง (MTEF) บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพงานพัสดุ ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร : ศึกษาเฉพาะกรณี การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
    ผดุง เหลืองประมวล (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 งานพัสดุของสำนักงาน สารบัญภาพ -ภาพที่ 1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ -ภาพที่ 2 ส่วนต่างๆ ของระบบสารสนเทศ -ภาพที่ 3 วงจรบริหารจัดการพัสดุ -ภาพที่ 4 Link Loop ปัญหาและสาเหตุ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง --แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ --แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ RFID และบาร์โค้ด --กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ --แนวคิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ --แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการพัสดุ --แนวคิดเกี่ยวกับแผนปฏิรูปการบริหารงานพัสดุ -ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 สถานภาพ ปัญหา และอุปสรรคของงานพัสดุ -สถานภาพปัจจุบัน -สภาพของปัญหา --ปัญหาด้านเครื่องมือ --ปัญหาด้านการจัดการ --ปัญหาด้านบุคลากร --ปัญหาด้านการใช้งบประมาณ --ปัญหาการละเลยข้อปฏิบัติด้านคุณธรรม ศีลธรรม จรรยา บทที่ 4 แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ -แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพระบบงาน เครื่องมือ เทคโนโลยีสารสนเทศ -แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการทำงาน การบริหารจัดการ -แนวกทางการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร -แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ -แนวทางการเพิ่มคุณธรรม ศีลธรรม จรรยา บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนางานเลขานุการในการประชุม คณะกรรมาธิการการศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม
    บำรุง พันธุ์อุบล (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์การศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีดำเนินการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -ความหมายของเลขานุการ -หลักการทำงานของเลขานุการ -หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการ -ลักษณะและคุณสมบัติที่สำคัญของเลขานุการ -แนวคิดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ -แนวคิดการบริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลง -ทฤษฎีการเรียนรู้ -การทำงานเป็นทีม -ทฤษฎี Benchmarking บทที่ 3 ระบบงานคณะกรรมาธิการ -ความหมายของกรรมาธิการ -อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการ -ประเภทของคณะกรรมาธิการ -โครงสร้างคณะกรรมาธิการ -หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมาธิการ --การสนับสนุนงานด้านการประชุมคณะกรรมาธิการ --การสนับสนุนด้านการจัดให้มีการสัมมนา --การเดินทางไปศึกษาดูงานภายในประเทศและต่างประเทศ --งานเรื่องร้องเรียน บทที่ 4 ปัญหา อุปสรรคของงานเลขานุการในการประชุมคณะกรรมาธิการ -ปัญหาและอุปสรรคของการปฏิบัติงานเลขานยุการคณะกรรมาธิการ --อุปสรรค --สาเหตุของปัญหา บทที่ 5 การพัฒนางานเลขานุการคณะกรรมาธิการ -การปรับปรุงและการพัฒนางานเลขานุการ --ความมุ่งหมายในการปรับปรุงงาน --การพัฒนางานเลขานุการ --การพัฒนาทักษะในการทำงาน -เทคนิคปรับปรุงงานโดยใช้ WIP (Work Improvemnet Program) --หลักในการปรับปรุงงานด้วยเทคนิค WIP -แนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อการพัฒงานเลขานุการ -องค์กรต้นแบบ : ราชบัณฑิตยสถาน บทที่ 6 บทสรุป -สรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านวิชาการใน คณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
    บุณฑริกา ชุณหะนันทน์ (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2544 -ตารางที่ 2 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2545 -ตารางที่ 3 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2546 -ตารางที่ 4 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2547 -ตารางที่ 5 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2548 -ตารางที่ 5ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2548 (ต่อ) -ตารางที่ 6 ผลการปฏิบัติงานในสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21 ปี 2549 บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ -ประโยชน์ที่่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตการศึกษา -นิยามศัพท์ -วิธีการศึกษา บทที่ 2 แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดที่เกี่ยวข้อง --ความหมายของประสิทธิภาพ --การสร้างทีมงาน --การประสานงาน -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง --การพัฒนาสมรรถนะขององค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ --การศึกษาแนวทางเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของงานฝ่ายนิติบัญญัติ --สาระสำคัญและแนวทางการพัฒนาสภาผู้แทนราษฎรในสิบปีข้างหน้า --การพัฒนาประสิทธิภาพผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2540 บทที่ 3 การปฏิบัติงานด้านวิชาการให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของสำนักกรรมาธิการ 1 -ประเภทของคณะกรรมาธิการ -การปฏิบัติงานด้านวิชาการในคณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -ผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการติดตามการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 21 และชุดที่ 22 บทที่ 4 ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวิชาการให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -ปัญหาและสาเหตุของปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวิชาการ --ปัญหาด้านบุคลากร --ปัญหาด้านข้อมูล ---การขาดระบบการจัดเก็บข้อมูล ---การขาดระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ---การขาดการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก --ปัญหาด้านการจัดระบบงาน บทที่ 5 แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านวิชาการ ให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -ประเด็นในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านวิชาการ -แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านวิชาการให้แก่คณะกรรมาธิการวิสามัญและคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ --การปรัยปรุงคุณภาพบุคลากร --การจัดระบบข้อมูล บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนางานของห้องสมุดด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ : ห้องสมุดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    นิสา เหลืองทองคำ (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า คำนำ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดการพัฒนาห้องสมุด -การพัฒนาห้องสมุดอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน -เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานของห้องสมุด --ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่องานห้องสมุด --ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่องานห้องสมุด -แนวคิดการพัฒนาห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Library) --ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ --ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ --ประโยชน์ของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 สภาพทั่วไปของห้องสมุดและปัญหา -สภาพทั่วไปของห้องสมุดรัฐสภา --ประวัติห้องสมุดของรัฐสภา --การบริหารจัดการงานของห้องสมุดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --การนำคอมพิวเอตร์มาใช้ในห้องสมุดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -ปัญหาและสาเหตุ --ปัญหาการวางแผนงาน/การบริหารจัดการ --ปัญหาการให้บริการ --ปัญหาการวางแผนงาน/การบริหารจัดการ --ปัญหาการให้บริการ -ผลกระทบ บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา -พัฒนาคุณภาพของห้องสมุด -การพัฒนาห้องสมุดโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มาเป็นส่วนช่วยในการเพิ่มศักยภาพ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาในอนาคต บรรณานุกรม ภาคผนวก -มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง -มาตรฐานของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย -มาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการด้านต่างประเทศของคณะกรรมาธิการการสาธารณสุขสภาผู้แทนราษฎร
    ประสิทธิผล ยูวะเวส (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551)
    ปกหน้า คำนำ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -กรอบแนวคิดในการศึกษา -การนำเสนอผลการศึกษา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดเกี่ยวกับเลขานุการ ซึ่งถือว่าสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่นั้น -การบริหารภาครัฐแนวใหม่ -ทฤษฎีจัดการความรู้สู่คุณภาพ -ทฤษฎีการพัฒนาองค์การ -แนวคิดการทำงานเป็นทีม -ทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาท -แนวคิดเกี่ยกวับประสิทธิภาพ -แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน -แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติต่ออาชีพกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน -ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 บทบาทเลขานุการด้านต่างประเทศ -หน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการ -กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข -การปฏิบัติหน้าที่เลขานยุการด้านต่างประเทศของคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร บทที่ 4 บทวิเคราะห์ บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ -บทสรุป -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2551