2.04.01.07 รายงานการอบรม/สัมมนา/ดูงาน

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 254
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการเดินทางเข้าร่วมประชุมสหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) ณ นครบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ เครือรัฐออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 30 กันยายน 2567-3 ตุลาคม 2567
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ; ณัฏฐกฤษฎ์ วงศ์เจริญ; มาณิช อินทฉิม; ศิริพร โหตรภวานนท์; บุษราภรณ์ อัครนิธิยานนท์; ณิชชา สอนดี; วลัยรัตน์ ชายท้าว; ใหม่ มูลโสม; นริศรา เพชรพนาภรณ์; อุดมศักดิ์ โกสิทธ์; วัลยา พุ่มต้นวงค์ (สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-02)
    ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (Execitive Summary) คำนำ สารบัญ Summit Programme -From Social Media to Generative AI: How Do We Keep Society in the Loop? -Open Panel on the 2024 IFLA Trend Report -Free Futures? Open Panel on Intellectual Freedom -How Book People can Save Books -Leading the Library Response -Visible progress open access and open research -Information Integrity and its Impacts -Leading the Library Response -Entering the Linguistic Age: Challenges and Opportunities for the Scholarly Record -Libraries and Access to Information a sa Common Public Good -Library Leadership Panel -From Trends to Practice: Working with each other -Conversations and Provocations -Presenting the 2024 Trend Report -Launching the IFLA Strategy 2024-2029 -Leading the Library Response -IFLA Congress Review Consultation -AI and the Rise of the Digital Minions -Digital Social Justice -Looking Back to Enact an Indigenous-Led Future: How Much Systemic and Structural Change Has Taken Place in the Context of Australian Libraries? -AI and I -The Future of Reading -From Trends to Practice: Working with Partners -Wrap-Up Ignite Talks -Who’s Your Mob?: developing a program for demystifying the Australian (Queensland) First Nations family history journey -Towards a global queer librarianship -Generative AI–engaging with Heritage Collections -Investing in Libraries to Strengthen Democracy -Offline Internet–going where broadband doesn’t reach -Can our libraries transfer from non-profit making to self-sustaining institution? -Mobile library: to reach out and connect -Fact vs Fake–Libraries Building News Literate Societies -Finnish libraries as platforms for multiprofessional cooperation -Live at the Library–Forging geographic gaps and advancing community engagement -How can we use Mindful Leadership to future-proof our workforce? -The future of government information and transparency -Be prepared! LIANZA''s f to Read toolkit -Recataloguing Indigenous Knowledge: Introducing Aboriginal and Torres Strait Islander protocols into critical library practice -From Little Things Big Things Grow: celebrating Aboriginal and Torres Strait Islander Knowledges and Culture one conversation at a time at the Queensland University of Technology (QUT) ศึกษาดูงาน -State Library of Queensland (SLQ) -Supreme Court Library Queensland (SCLQ) แนวคิดการปรับปรุงบริการหอสมุดรัฐสภา ภาคผนวก -ภาคผนวก ก รายชื่อผู้ที่เดินทางไปร่วมประชุม -ภาคผนวก ข ภาพถ่ายบรรยากาศการประชุม -ภาคผนวก ค กำหนดการประชุม ปกหลัง
    2568-02
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการเข้าร่วมการสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศสำหรับหน่วยบริการวิจัยของรัฐสภา สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 13 (The 13th International Seminar for Parliamentary Research Services) ระหว่างวันที่ 13-16 ตุลาคม 2567 ณ หน่วยบริการวิจัยของรัฐสภา (The National Assembly Research Service: NARS) กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา; นารีลักษณ์ ศิริวรรณ; ปรียวรรณ สุวรรณสูนย์ (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-01)
    ปก คำนำ สารบัญ ส่วนที่ 1 รายงานการเดินทางเข้าร่วมการสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศสำหรับหน่วยบริการวิจัยแห่งรัฐสภา ครั้งที่ 13 ประจำปี 2567 ส่วนที่ 2 สรุปผลการสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศ -1. การแบ่งขั้วทางการเมืองและบทบาทการให้บริการวิจัยของรัฐสภา -2. โลกาภิวัตน์กับการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมาย ส่วนที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศและข้อเสนอแนะ ส่วนที่ 4 ประมวลภาพกิจกรรมต่าง ๆ ในการเข้าร่วมสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศ 40 สำหรับหน่วยบริการวิจัยของรัฐสภา สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 13 ประจำปี 2567 ระหว่างวันที่ 13-16 ตุลาคม 2567 ณ หน่วยบริการของรัฐสภา กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี ภาคผนวก -เอกสารที่สำนักวิชาการนำเสนอในการสัมมนาวิชาการระหว่างประเทศ "Political Polarization in Thailand: The Cause from Internet Using and the Roles of Parliamentary Research Services"
    2568-01
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการเข้าร่วมประชุมสหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ส่วนห้องสมุดและการบริการวิจัยสำหรับรัฐสภา ณ อาคารวุฒิสภา รัฐสภาราชอาณาจักรสเปน กรุงมาดริด ราชอาณาจักรสเปน ระหว่างวันอังคารที่ 15 ตุลาคม ถึงวันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2567
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานห้องสมุด (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2568-01)
    การเข้าร่วมประชุมสหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ประจำปี 2024 ส่วนห้องสมุดและการบริการวิจัยสำหรับรัฐสภา (International Federation of Library Associations and Institutions : IFLA Section on Library and Research Services for Parliaments) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 15-20 ตุลาคม 2567 ณ อาคารวุฒิสภา กรุงมาดริด ประเทศสเปน สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 6 คน ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้และประสบการณ์ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เข้าร่วมประชุมในสายวิชาชีพเดียวกัน และจากการศึกษาดูงาน อันจะเป็นประโยชน์ในการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับปรุงการปฏิบัติงานและพัฒนาการให้บริการห้องสมุด การประชุมครั้งนี้มีผู้แทนจากหลากหลายประเทศร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการพัฒนาห้องสมุดและบริการวิจัยสำหรับรัฐสภา ในหัวข้อเรื่อง การบูรณาการความเชี่ยวชาญในการสร้างนวัตกรรมที่จะส่งผลต่องานบริการห้องสมุดและวิจัยของรัฐสภา (Leveraging Collective Expertise for Innovation and Impact in Parliamentary Libraries and Research Services) หัวข้อสำคัญประกอบด้วยนวัตกรรมการให้บริการ ข้อมูลเชิงลึกเพื่อสนับสนุนงานรัฐสภา และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในห้องสมุด จากการเข้าร่วมประชุมสามารถสรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้ มีการนำเสนอคอลเลกชัน Post-Incunabula ซึ่งเป็นหนังสือหายากและทรงคุณค่าของห้องสมุดวุฒิสภาสเปน สะท้อนถึงความสนใจส่วนตัวของผู้สะสม และแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของการพิมพ์และการสะสมหนังสือในช่วงเปลี่ยนผ่านที่สำคัญของยุโรป การจัดการและอนุรักษ์หนังสือหายากเพื่อสะท้อนมรดกทางวัฒนธรรม พร้อมใช้เทคโนโลยีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการวิจัย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างรัฐสภาในสเปน เครือข่ายดิจิทัลที่สนับสนุนความโปร่งใส การเผยแพร่ข้อมูลโดยมีเว็บไซต์ Red Parlamenta ที่ช่วยรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐสภา การเลือกตั้ง กฎหมาย รวมถึงข้อมูลด้านความโปร่งใสและความเท่าเทียมทางเพศ ห้องสมุดรัฐสภาในประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา เม็กซิโก และสหรัฐอเมริกา ได้นำเสนอแนวทางใหม่ในการให้ข้อมูลเชิงรุก เช่น แพลตฟอร์มดิจิทัล และการใช้ข้อมูล ทางภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนงานรัฐสภา มีการนำเสนอเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่โดดเด่นจากประเทศซึ่งเข้าร่วมประชุมได้แก่ การพัฒนาแดชบอร์ดข้อมูล (Data Dashboards) ตัวอย่างจากรัฐสภาฮังการีที่ใช้โปรแกรมTableau สร้างข้อมูลภาพแบบโต้ตอบช่วยให้สมาชิกรัฐสภาเข้าใจประเด็นสำคัญได้ง่ายขึ้น การพัฒนาสิ่งพิมพ์ดิจิทัลโดยใช้ระบบจัดการเนื้อหาแบบองค์ประกอบ (Component Content Management System - CCMS) ได้แก่ จัดเก็บเนื้อหาไว้ในที่เดียว แบ่งเนื้อหาเป็นส่วนประกอบย่อย ๆ อำนวยความสะดวกในการเผยแพร่เนื้อหาในรูปแบบต่างๆ (PDF, เว็บไซต์ และรูปแบบอื่น ๆ ในอนาคต) เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันและการแปล จัดการข้อมูลเมทาดาทา ขั้นตอนการทำงาน และการบริหารจัดการทรัพย์สินดิจิทัลของรัฐสภายุโรป การพัฒนารูปแบบเอกสารดิจิทัลที่ใช้งานได้ง่ายและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บทบาทของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ในห้องสมุดรัฐสภา การศึกษากรณีตัวอย่างการใช้ปัญญาประดิษฐ์จากรัฐสภาแคนาดาและสเปน แสดงให้เห็นศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัย การจัดหมวดหมู่ และการ ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในเชิงลึก โดยเฉพาะข้อมูลที่เผยแพร่ในโลกออนไลน์ ข้อเสนอแนะและบทเรียนที่ได้รับ 1. การสร้างเครือข่ายระดับนานาชาติ ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดรัฐสภาช่วยยกระดับมาตรฐานงานวิจัยและบริการ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ การใช้แดชบอร์ดดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการข้อมูลประกอบการตัดสินใจ 3. หลายประเทศเน้นพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีและบริการใหม่ ๆ ให้กับบุคลากร ควรมีการพัฒนาความเชี่ยวชาญและการจัดอบรมการใช้งานระบบดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ให้กับบุคลากร เพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการ 4. ห้องสมุดควรมุ่งเน้นการให้บริการข้อมูลเชิงรุก โดยการพัฒนาทรัพยากรที่เชื่อถือได้เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของสมาชิกรัฐสภา ข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์สำหรับหอสมุดรัฐสภา 1. ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลสำหรับเผยแพร่ข้อมูลที่สำคัญของรัฐสภา เช่น พัฒนาระบบดิจิทัลที่เป็นแหล่งรวมข้อมูลกฎหมาย รายงานการประชุม และเอกสารวิจัยต่าง ๆ ให้เข้าถึงได้ง่ายผ่านเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน โดยเน้นการใช้งานที่สะดวกและมีฟังก์ชันการค้นหาที่ครอบคลุม 2. ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการข้อมูลและการวิจัย โดยการจัดตั้งระบบฐานข้อมูลแบบเชื่อมโยง (Linked Data) เพื่อเพิ่มความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ในระดับรัฐสภาและหน่วยงานภายนอก เช่น ข้อมูลกฎหมายไทยและการเปรียบเทียบกับต่างประเทศ การนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาสนับสนุนการวิจัยและการตอบคำถาม ได้แก่ ใช้ในการจัดหมวดหมู่ข้อมูล วิเคราะห์แนวโน้มทางกฎหมาย และสร้างคำตอบที่แม่นยำสำหรับสมาชิกรัฐสภา ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในเชิงลึก โดยเฉพาะข้อมูลที่เผยแพร่ในโลกออนไลน์ 3. พัฒนาความร่วมมือกับห้องสมุดรัฐสภาระดับภูมิภาคและนานาชาติ เช่น สมาคมบรรณารักษ์รัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก (Association of Parliamentary Librarians of Asia and the Pacific - APLAP) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และแนวปฏิบัติที่ดี แลกเปลี่ยนบุคลากรเพื่อฝึกปฏิบัติงานในประเทศที่มีระบบห้องสมุดรัฐสภาที่ทันสมัย เช่น ประเทศสเปน หรือสหรัฐอเมริกา เพื่อเรียนรู้และนำมาประยุกต์ใช้ 4. จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เช่น การจัดนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์รัฐสภาไทย หรือการอบรมเรื่องการค้นคว้ากฎหมายสำหรับประชาชน 5. สร้างแคมเปญส่งเสริมการใช้งานหอสมุด เช่น การจัดทำโครงการ “หอสมุดรัฐสภาเพื่อประชาชน” เพื่อให้คนทั่วไปเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและเป็นประโยชน์
    ปกหน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร คำนำ สารบัญ กำหนดการเดินทาง สรุปผลการประชุม ช่วงที่ 1 การให้บริการของห้องสมุดวุฒิสภาราชอาณาจักรสเปน และจากสมาคมห้องสมุดของรัฐสภาในภูมิภาค (First Session Services offered by the Spanish Senate & updates from the Association of Libraries of Regional Parliaments) 1. คอลเลกชันหนังสือหลังยุคก่อนการพิมพ์ของห้องสมุดวุฒิสภาสเปน : ขั้นตอนเริ่มต้น (The Post-Incunabula Collection of the Spanish Senate Library: Initial steps towards its identification)by Silvia Pax Otero, Donaire Bravo (Spanish Senate, Library) 2. เรื่องราวความสำเร็จของ Red_Parlamenta เว็บไซต์สำหรับความร่วมมือทางวิชาชีพ การเผยแพร่ข้อมูลและความโปร่งใส (Red Parlamenta''s success story, a website for professional cooperation, dissemination and transparency) by M. Fernanda del Rincón García (Valencian Parliament) 3. แหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาชุมชนปกครองตนเองของสเปน (Sources of information for the study of the Autonomous Communities of Spain) by María Mercedes Juliani Aguado (Spanish Senate, Service of Autonomous Communities'' Documentation) ช่วงที่ 2 นวัตกรรมและแนวทางปฏิบัติใหม่ ๆ ที่นำมาใช้ในห้องสมุดรัฐสภา และบริการวิจัยทั่วโลก (Second Session Innovations and New Practices in Parliamentary Libraries and Research Services Around the World) 1. ยุทธศาสตร์ในห้องสมุดรัฐสภา: ด้วยแนวทางระบบการจัดการกระบวนการธุรกิจ (Strategies in a parliamentary library: BPM''s recent approaches) by Maria Joao Amante, Rita Aleixo & Elizabete Revez (Assembleia da República, Portugal) 2. การยกระดับการให้บริการผ่านงานวิจัยที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบดิจิทัลโดยเฉพาะในรัฐสภายุโรป (Enhanced service delivery through digitaly native research publications in the European Parliament) by Etienne Bassot & Alec Vuijlsteke (European Parliament) 3. จากข้อมูลท่วมท้นสู่ข้อมูลเชิงลึก: แดชบอร์ดข้อมูลสำหรับผู้ใช้งานในรัฐสภา (From Information Overload to Insight: Data Dashboards for Parliamentary Users) by Alexandra Holle (Hungarian National Assembly) ช่วงที่ 3 นวัตกรรมและแนวทางปฏิบัติใหม่ ๆ ที่นำมาใช้ในห้องสมุดรัฐสภาและบริการวิจัยทั่วโลก (Third Session Innovations and New Practices in Parliamentary Libraries and Research Services Around the World) 1. ก้าวข้ามขีดจำกัด: การเดินทางของห้องสมุดรัฐสภาแห่งชาติควิเบกสู่การเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญ (Stepping Out of Comfort Zones: The Bibliothèque de l''Assemblée nationale du Québec''s Journey to Becoming an Essential Resource) by Carolyne Ménard (Assemblée nationale du Québec, Canada) 2. แนวทางการใช้นวัตกรรมสนับสนุนบริการแก่ประชาชน (Innovative Approaches to Supporting Constituent Services) by Julia Taylor & Jennifer Manning (Library of Congress, USA) 3. การนำเสนอแพลตฟอร์มสำหรับการจัดการเนื้อหาของข้อมูลและเอกสารของบริการวิจัยของรัฐสภาโตโก (Presentation of the platform for content management of data and documents of the parliamentary research documentation service of the National Assembly of Togo) by Saki, Biante Aeto (National Assembly of Togo) 4. การสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บริการห้องสมุดของรัฐสภาแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (User survey, Library of the German Bundestag) by Mario Piel (German Bundestag) 5. บริการช่วยวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายของรัฐสภาเกาหลี (Assistant Service for Legislative Impact Analysis of the NARS in Korea) by Dong Young Lee (NARS, Republic of Korea) 6. การยกระดับการให้บริการดิจิทัลของหอสมุดรัฐสภาโดยประชาชนมีส่วนร่วม: โครงการอาสาสมัครหอสมุดรัฐสภา กิจกรรม Hack เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ 2560 (Hack into the Intent of Constitution 2017) by Naritsara Phetpanaporn (National Assembly of Thailand) ช่วงที่ 4 อะไรใหม่? การอัปเดตล่าสุดในสมาคมต่าง ๆ (Fourth Session What''s New? Latest Updates in Associations) ช่วงที่ 5 การใช้ประโยชน์จากความเชี่ยวชาญในห้องสมุดรัฐสภาและบริการวิจัยในยุคปัญญาประดิษฐ์ (Fifth Session Discussion Panel: Leveraging Collective Expertise of Parliamentary Libraries and Research Services in the Age of AI) 1. การทดสอบเชิงสำรวจเครื่องมือปัญญาประดิษฐ์เชิงสร้างสรรค์ที่หอสมุดรัฐสภาแคนาดา ผู้บรรยาย Anne-Marie Genin Charette หอสมุดรัฐสภาแคนาดา (Exploring the Role of Artificial Intelligence in Parliamentary Libraries and Research Services) 2. แนวทางการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในรัฐสภา : ตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีในการนำมาใช้ในห้องสมุดรัฐสภาและบริการงานวิจัย ผู้บรรยาย Marina Cueto Aparicio สภาผู้แทนราษฎร รัฐสภาราชอาณาจักรสเปน (Guidelines for AI in Parliaments: some best practices to implement in parliamentary libraries and research services) by Marina Cueto Aparicio (Spanish Congress of Deputies) 3. บทบาทของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในรัฐสภาแบบเปิด การเพิ่มความโปร่งใส การคิดวิเคราะห์ และการรับมือกับข้อมูลเท็จ ผู้บรรยาย Miguel Angel Gonazalo Rozas สภาผู้แทนราษฎร รัฐสภาราชอาณาจักรสเปน (The role of artificial intelligence in open parliament: enhancing transparency, critical thinking, and combating disinformation) by Miguel Angel Gonzalo Rozas (Spanish Congress of Deputies 4. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และประชาธิปไตย การสร้างความฉลาดรู้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และสารสนเทศที่ดีเป็นหัวใจของประชาธิปไตย ผู้บรรยาย Anne-Lise Harding สภาสามัญ รัฐสภาสหราชอาณาจักร (Artificial intelligence and democracy: building AI awareness and good information at the heart of democracy) by Anne-Lise Harding (House of Commons, UK) การศึกษาดูงาน พระราชวังแห่งวุฒิสภาหรืออาคารรัฐสภา (Guided tour of the Palacio del Senado) ห้องสมุดวุฒิสภา (The Senate Library) ประโยชน์และข้อเสนอแนะ ข่าวประชาสัมพันธ์ ปกหลัง
    2568-01
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานสรุปผลการสัมมนาโครงการสัมมนาสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยของรัฐสภา กิจกรรมที่ 1 การประชุมนโยบายสาธารณะ (Public Policy Forum) เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยในกระบวนการนิติบัญญัติ: เรื่อง ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) และระบบประกันสังคมและการออมเพื่อสังคมสูงวัย
    ปรียวรรณ สุวรรณสูนย์; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2567-11)
    ปกหน้า รายงานสรุปผลการสัมมนาโครงการสัมมนาสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยของรัฐสภา กิจกรรมที่ 1 การประชุมนโยบายสาธารณะ (Public Policy Forum) เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยในกระบวนการนิติบัญญัติ: เรื่อง ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) และระบบประกันสังคมและการออมเพื่อสังคมสูงวัย การกล่าวรายงาน[มาณิช อินทฉิม] การกล่าวเปิด[ณัฏฐกฤษฎ์ วงศ์เจริญ] การปาฐกถา เรื่อง การพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมกับการมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศไทย[พงษ์วิภา หล่อสมบูรณ์] การเสวนา เรื่อง ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) [อธิภัทร มุทิตาเจริญ][กฤษฎา บุญชัย] ผลกระทบจากภาษีคาร์บอน ภาษีคาร์บอนกับผลกระทบกับห่วงโซ่ของเกษตรกรรมและอาหารไทย ความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาภาษีคาร์บอนในประเทศ สรุปผลช่วงการถาม-ตอบ (Q&A) -1. ผลกระทบที่เกิดขึ้นภายหลังการบังคับใช้ภาษีคาร์บอนจะเป็นอย่างไร ? -2. ภาษีคาร์บอนจะทำให้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เปลี่ยนไปได้หรือไม่ อย่างไร ? -3. ตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำเร็จหรือเกิดปัญหาภายหลังการดำเนินการเรื่องภาษีคาร์บอน ? -4. การจัดเก็บภาษีคาร์บอน ปัจจุบันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคำนึงถึงการสร้างแรงจูงใจด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อช่วยลดการปล่อยคาร์บอน รวมถึงมีมาตรการกระตุ้นภาคครัวเรือนหรือไม่ อย่างไร ? ดร.กฤษฎา บุญชัย เลขาธิการสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา ถาม-ตอบ (Q&A) -1. หากพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ภาษีคาร์บอนจะทำให้ปัญหา Climate Change เปลี่ยนไปได้หรือไม่ ? -2. ตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำเร็จหรือเกิดปัญหาภายหลังการดำเนินการเรื่องภาษีคาร์บอนไปแล้ว ? -3. การจัดเก็บภาษีคาร์บอน ปัจจุบันมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคำนึงถึงการสร้างแรงจูงใจด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อช่วยลดการปล่อยคาร์บอน รวมถึงมีมาตรการกระตุ้นภาคครัวเรือนหรือไม่ อย่างไร ? การเสวนา เรื่อง ระบบประกันสังคมและการออมเพื่อสังคมสูงวัยที่มั่นคงและยั่งยืน: ข้อเสนอ เพื่อการปฏิรูป[เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์][กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์] การปฏิรูปกองทุนประกันสังคม ปัญหาแรงงาน การเพิ่มสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม นโยบาย/กลไกในการดำเนินงานของภาครัฐ ข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบประกันสังคม แนวทางการปรับระบบจัดการรายได้ของผู้สูงอายุ -สาระสำคัญ -บริบท สรุปผลช่วงการถาม-ตอบ (Q&A) -1. รัฐควรมีมาตรการด้านสวัสดิการอย่างไร ในการส่งเสริมให้ประชาชนมีบุตรมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันพบว่าสังคมไทยจะเกิดวิกฤติมีเด็กเกิดน้อย -2. ในขณะที่คนจ่ายภาษีน้อยลงอย่างต่อเนื่อง จะมีทางออกสำหรับประเทศไทยอย่างไร ดร.กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์ อาจารย์ประจำคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ -การคุ้มครองทางสังคมถ้วนหน้าสำหรับการสูงวัยอย่างมีสุขภาพดี (Universal social protection for healthy ageing) -การคุ้มครองทางสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัย -ข้อเสนอการคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติงานและคนทั่วไป -จำนวนผู้ประกันตน พ.ศ. 2555-2567 ปัญหาของการใช้เครื่องมือและวิธีที่ไม่ถูกต้องในช่วงโคโรนาไวรัสระบาด -จำนวนผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (มาตรา 40) (ข้อมูลเดือนพฤษภาคม 2567 -หมายเหตุ -โจทย์การวิจัยที่สนับสนุนการพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคม สรุปผลช่วงการถาม-ตอบ (Q&A) -1. การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมสำหรับแรงงานข้ามชาติควรมีรูปแบบอย่างไร -2. ภาครัฐมีแนวทางการแก้ไขปัญหาอัตราการเกิดน้อยของสังคมไทยโดยการส่งเสริมสวัสดิการสังคมอย่างไร นายศุภลักษณ์ บำรุงกิจ นักวิชาการด้านรัฐสวัสดิการและประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ สรุปผลช่วงการถาม-ตอบ (Q&A) -1. ปัญหาของไทยประการหนึ่งคือความสามารถในผลิตบุคลากรทางการแพทย์ได้ค่อนข้างน้อยในแต่ละปี ประกอบกับระบบคู่ขนานของโรงพยาบาลภาครัฐและโรงพยาบาลภาคเอกชน ประชาชนเลือกที่จะไปรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนมากกว่า ทำให้เกิดการแย่งตัวบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ทำงานหนักขึ้นและการเปลี่ยนอาชีพของแพทย์ ดังนั้น ภาครัฐจึงควรมีสวัสดิการสังคมอย่างไรจึงจะเหมาะสม -2. ระบบที่ 5 ระบบถ้วนหน้าแบบตามรายได้ (Encompassing) ที่มีแนวโน้มจะสร้างความเท่าเทียมได้มากที่สุด ประเทศที่เป็น Best Practice ที่นำระบบดังกล่าวไปใช้และประสบความสำเร็จคือประเทศใด -3. กองทุนประกันสังคมกำลังจะล่มสลายในอีก 20 ปีข้างหน้าจริงหรือไม่ -4. การที่อัตราการเกิดลดน้อยลงจะส่งผลกระทบระบบประกันสังคมของประเทศหรือไม่ รายงานประเมินผลโครงการโครงการสัมมนาสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยของรัฐสภา กิจกรรมที่ 1 การประชุมนโยบายสาธารณะ (Public Policy Forum) เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยในกระบวนการนิติบัญญัติ: เรื่อง ภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) และระบบประกันสังคมและการออมเพื่อสังคมสูงวัย -ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม -ความพึงพอใจต่อโครงการ ปกหลัง
    2567-11
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการดำเนินงานการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติหน้าที่ล่ามวิถีใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2566 ระหว่างวันอังคารที่ 15 - วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 08.30-16.30 นาฬิกา ณ ห้องประชุมสัมมนา บี 1-1 ชั้น บี 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และศึกษาดูงาน ณ ส่วนล่ามและการแปล สำนักการต่างประเทศ สำนักงานศาลยุติธรรมและสถาบันฝึกอบรมระหว่างประเทศว่าด้วยการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักภาษาต่างประเทศ ร่วมกับ สำนักพัฒนาบุคลากร; รุจิราภรณ์ คำหลง, รวบรวมและจัดทำรูปเล่ม (สำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566)
    2566
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ณ สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 15-23 มิถุนายน 2539
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กองกรรมาธิการ 2 ฝ่ายประชุม 5; คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2539)
    ปก สารบัญ รายนามคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร และคณะ ในการเดินทางไปศึกษาดูงานด้านการศึกษา ณ สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 15-23 มิถุนายน 2539 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ สหราชอาณาจักร -การศึกษาดูงาน ณ สหราชอาณาจักร --วัตถุประสงค์การดูงาน --ข้อมูลทั่วไปด้านการศึกษา --สรุปผลการศึกษาดูงาน ณ สหราชอาณาจักร ---1. การจัดการศึกษา ----ก่อนการปฏิรูปการศึกษา ----ในปี ค.ศ. 1988 ได้มีพระราชบัญญัติการปฏิรูปการศึกษา ----การปฏิรูปสมัยของพรรคคอนเซอร์เวทีฟ ---2. ปรัชญาการดำเนินงาน OFSTED ---3. ระบบกระบวนการวิธีการตรวจสอบ OFSTED ----ข้อดี (ผลบวก) ----ข้อเสีย (ผลลบ) ---ข้อสังเกตเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการการศึกษา ---สรุปสาระสำคัญ ---สิ่งที่น่าสนใจจากการดูงานการเรียนการสอน ---การดูงาน ณ HOUSE OF COMMONS ----สรุปสาระสำคัญ -----ก. การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการศึกษาและการแรงงาน สหราชอาณาจักร -----ข. ความคิดเห็นด้านการศึกษาของคณะกรรมาธิการการศึกษาและการแรงงาน สหราชอาณาจักร ---ข้อสังเกตเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการการศึกษา สาธารณรัฐฝรั่งเศส -การศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐฝรั่งเศส --วัตถุประสงค์การดูงาน --ข้อมูลทั่วไปด้านการศึกษา ---ระบบการศึกษา ---ระบบการศึกษาระยะยาว ---การศึกษาแบบระบบ Grands Ecoles ---การบริหารการศึกษา ----การบริหารงานในระดับชาติ ----การบริหารงานส่วนท้องถิ่น ----มหาวิทยาลัย ----ผู้ตรวจการศึกษาแห่งชาติ --สรุปผลการศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ---การดูงาน ณ BATIMENT B กระทรวงศึกษาธิการ ----สรุปสาระสำคัญ ----ข้อสังเกตเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการการศึกษา ---การดูงาน ณ รัฐสภา สาธารณรัฐฝรั่งเศส ----สรุปสาระสำคัญ -----ก. การดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการศึกษาฯ สาธารณรัฐฝรั่งเศส -----ข. ข้อมูลด้านการศึกษา ----ข้อสังเกตเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการการศึกษา ---การดูงาน ณ สำนักงานใหญ่ UNESCO ----สรุปสาระสำคัญ -----ก. ข้อมูลทั่วไปของ UNESCO -----ข. การดำเนินกิจกรรมที่สำคัญร่วมกับประเทศไทย และความคาดหวัง รวมทั้งความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ ----ข้อสังเกตเพิ่มเติมของคณะกรรมาธิการการศึกษา --สรุปภาพรวมของการจัดการศึกษาในสาธารณรัฐฝรั่งเศส ---1. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ---2. ระบบการศึกษา ---3. นโยบายการศึกษาปัจจุบัน ---4. การกระจายอำนาจการจัดการศึกษา ---5. ระบบการฝึกหัดครู ----ระบบเดิม ----ระบบใหม่ เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1989 ภาคผนวก -กำหนดการการดูงานด้านการศึกษา คณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ณ สหราชอาณาจักร และ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 15-23 มิถุนายน 2539 ปกหลัง
    2539
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการเข้าร่วมประชุมสหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด (International Federation of Library Associations and Institutions: IFLA) ประจำปี 2561 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ระหว่างวันที่ 24-30 สิงหาคม 2561
    สุนิดา บุญญานนท์ และคณะ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ (สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2561)
    ปกหน้า สารบัญ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร คำนำ รายงานการเดินทาง คำกล่าวเปิดการประชุม สรุปผลการประชุม -Pre-conference -IFLA General Conference and Council การศึกษาดูงานห้องสมุด ประโยชน์และข้อเสนอแนะ ประมวลภาพกิจกรรม
    2561
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานผลการสัมมนา โครงการสัมมนาการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพบุคลากรสำนักกฎหมายเพื่อรองรับการปฏิบัติงานด้านนิติบัญญัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักกฎหมาย (สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566-08)
    2566-08
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานการประเมินผลโครงการสัมมนา เรื่อง การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (ภาพรวมองค์กร) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วันอังคารที่ 22 ตุลาคม 2564 ระหว่างเวลา 08.30-12.00 นาฬิกา ผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom Meeting
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักพัฒนาบุคลากร (สำนักพัฒนาบุคลากร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2564-10)
    ปก บทสรุปผู้บริหาร โครงการสัมมนาเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายงานการประเมินผล โครงการสัมมนาเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายนามคณะผู้จัดทำ ภาคผนวก -โครงการสัมมนาเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -กำหนดการ โครงการสัมมนาเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
    2564-10
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานข้อมูลวิชาการและกฎหมายของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
    คณะอนุกรรมการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลวิชาการ และกฎหมายของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา; รัฐสภา (รัฐสภา, 2564)
    ปก รายงานสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานข้อมูลวิชาการและกฎหมายของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจการใช้บริการข้อมูลและระบบสารสนเทศใน 3 ประเด็น -2.1 ความพึงพอใจในด้านเนื้อหาด้านวิชาการและกฎหมาย -2.2 ความพึงพอใจประสิทธิภาพของฐานข้อมูลและการออกแบบ -2.3 การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
    2564