2.04.01.03 หนังสือ

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 685
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    นโยบาย 3 รัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (2) นายเศรษฐา ทวีสิน และนางสาวแพทองธาร ชินวัตร
    โชคสุข กรกิตติชัย; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานบริการวิชาการ 1 (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานบริการวิชาการ 1, 2567-09)
    2567-09
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    บันทึกความทรงจำ 6 ทศวรรษ อาคารรัฐสภาไทย
    คณะกรรมการจัดทำบันทึกความทรงจำ 6 ทศวรรษ อาคารรัฐสภาไทย (สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566)
    ปกหน้า สารเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สารประธานรัฐสภา คำนำ สารบัญ ลือเลื่องสถาปัตย์คู่รัฐสภาไทย -พระที่นั่งอนันตสมาคม: อาคารรัฐสภาแห่งแรก(พ.ศ. 2475–2517) -อาคารรัฐสภา ถนนอู่ทองใน: สถานที่แห่งความทรงจำ (พ.ศ. 2517-2561) -สัปปายะสภาสถาน: อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ -ความทรงจำ...อาคารรัฐสภาไทย ถนนอู่ทองใน -อาคารรัฐสภาถนนอู่ทองใน -ห้องประชุมรัฐสภา -สโมสรรัฐสภา -การก่อสร้างอาคารรัฐสภา 2 -สถานีจำหน่ายนํ้ามันเชื้อเพลิงสโมสรรัฐสภา -พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว -ลำดับความเป็นมาในการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ -การจัดสร้างของที่ระลึกเนื่องในพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ -ศาลพระสยามเทวาธิราช -การเคลื่อนย้ายพระบรมราชานุสาวรีย์ฯ อัครสถานสืบสานเจริญเมือง -การประชุมเกี่ยวกับการสืบราชสันตติวงศ์ -การเสด็จพระราชดำเนินไปยังอาคารรัฐสภาของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ -การประชุมสภาเพื่อพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย -การให้ความเห็นชอบบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรี -การใช้อาคารรัฐสภาเพื่อกิจการด้านต่างประเทศ -เหตุการณ์ทางการเมืองเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับอาคารรัฐสภา ถนนอู่ทองใน -รัฐสภาของประชาชน -สถิติการดำเนินงานที่สำคัญของรัฐสภา งานศิลป์งามสง่าเป็นนิรันดร์ -งานศิลป์ภายในอาคารรัฐสภา -ภาพจิตรกรรมแสดงพระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระมหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ -ประติมากรรมในบริเวณอาคารรัฐสภา -ทำเนียบภาพประธาน -ทำเนียบภาพเลขาธิการ -ศิลปะคู่รัฐสภา -งานศิลป์ภายนอกและสถานที่สำคัญโดยรอบอาคารรัฐสภา -สถานที่สำคัญโดยรอบอาคารรัฐสภา -พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว -ศาลพระสยามเทวาธิราชประจำรัฐสภา ปกหลัง
    2566
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รวบรวมผลงานเด่นในช่วงสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25
    คณะทำงานจัดทำหนังสือรวบรวมผลงานเด่นในช่วงสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2565-10)
    2565-10
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รัฐสภาไดเอทแห่งชาติประเทศญี่ปุ่น 日本の国会 (นิฮง โนะ ค๊กไค)
    ตรรกวิทย์ มิ่งขวัญ; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักภาษาต่างประเทศ กลุ่มงานภาษาญี่ปุ่นและเกาหลี (กลุ่มงานภาษาญี่ปุ่นและเกาหลี สำนักภาษาต่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2565-09)
    2565-09
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 9 บนเส้นทางประชาธิปไตยของคนรุ่นใหม่ ชลน่าน ศรีแก้ว
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กลุ่มงานผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร; ชิดสุภางค์ กิตยาธิคุณ; กมลา สาครมณีทรัพย์; ธิติกา ชมะโชติ; ณัฐกุล หาญประโคน; ภาคภูมิ ม้าวิไล; ชรินทร์พรรณ อะสีติรัตน์; พิมพ์พิชชา สิทธิศุภฤกษ์; แซมบี ทองชัย; องอาจ ภิรมย์ปักษา; ศุภโชค ทัศนา; นครินทร์ ปลื้มถนอม; ศรีสุดา พ่วงแพ; สุรีภรณ์ เอกศิริ; ธนรัตน์ เมฆบุตร (กลุ่มงานผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2565-03)
    2565-03
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    รายงานวิจัย เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
    อัญชลี จวงจันทร์, ผู้แต่ง; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2567-02)
    ปกหน้า บทคัดย่อ คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 คำถามการวิจัย -1.3 วัตถุประสงค์การวิจัย -1.4 ขอบเขตการวิจัย -1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและการทบทวนวรรณกรรม -2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน --2.1.1 ความหมายของการมีส่วนร่วม --2.1.2 ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน -2.2 หลักการ รูปแบบ และวิธีการมีส่วนร่วมของประชาชน --2.2.1 หลักการของการมีส่วนร่วมของประชาชน --2.2.2 รูปแบบของการมีส่วนร่วมของประชาชน -2.3 แนวคิดการกระจายอำนาจส่วนท้องถิ่น -2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น --2.4.1 ความหมายของการปกครองท้องถิ่น --2.4.2 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกับการปกครองท้องถิ่น -2.5 การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น -2.6 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น --2.6.1 ร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. .... --2.6.2 ข้อบัญญัติท้องถิ่นและกระบวนการตราข้อบัญญัติท้องถิ่น --2.6.3 สถานะของข้อบัญญัติในระบบกฎหมาย --2.6.4 ประเภทของข้อบัญญัติท้องถิ่น --2.6.5 เงื่อนไขการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น -2.7 การควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของข้อบัญญัติท้องถิ่น --2.7.1 การควบคุมก่อนใช้บังคับ --2.7.2 การควบคุมหลังใช้บังคับ -2.8 สิทธิของประชาชนในระดับท้องถิ่นต่อการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในต่างประเทศ --2.8.1 สิทธิของประชาชนในท้องถิ่นต่อการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศสหรัฐอเมริกา --2.8.2 สิทธิของประชาชนในท้องถิ่นต่อการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศญี่ปุ่น --2.8.3 สิทธิของประชาชนในท้องถิ่นต่อการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศฟิลิปปินส์ -2.9 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.10 กรอบแนวคิดการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -3.1 วิธีดำเนินการวิจัย -3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 กระบวนการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.1.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ --4.1.2 กระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศไทย --4.1.3 กระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยประชาชน -ตารางที่ 4.1 ตารางเปรียบเทียบกระบวนการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยทั่วไปกับกระบวนการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยประชาชน --4.1.4 ปัญหาในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.1.5 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นของประเทศไทย --4.1.6 การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในต่างประเทศ ---4.1.6.1 สิทธิของประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศสหรัฐอเมริกา ---4.1.6.2 ความเป็นมาและรูปแบบการปกครองท้องถิ่นของประเทศสหรัฐอเมริกา ---4.1.6.3 สิทธิประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในมลรัฐฟลอริดา ---4.1.6.4 สิทธิประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในมลรัฐอริโซนา ---4.1.6.5 สิทธิประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในมลรัฐโคโลราโด --4.1.7 สิทธิของประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศญี่ปุ่น --4.1.8 สิทธิของประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นในประเทศฟิลิปปินส์ -4.2 ปัญหาและอุปสรรคในการเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นของประชาชน --4.2.1 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นของประชาชนในท้องถิ่น --4.2.2 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคเรื่องขั้นตอนการพิจารณาข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.2.3 สรุปปัญหาและอุปสรรคในการเข้าชื่อตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2542 --4.2.4 หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ---4.2.4.1 หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ การตรวจสอบตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ---4.2.4.2 หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อการตรวจสอบตามพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 --4.2.5 วิเคราะห์เกี่ยวกับจำนวนประชากรในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.2.6 วิเคราะห์ขั้นตอนการพิจารณาข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.2.7 วิเคราะห์เกี่ยวกับกระบวนการ รูปแบบ และขั้นตอนการให้สิทธิประชาชนออกเสียงประชามติรับรองข้อบัญญัติท้องถิ่น --4.2.8 การวิเคราะห์พระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 --4.2.9 การเข้าชื่อเสนอกฎหมายท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 -ตารางที่ 4.2 เปรียบเทียบพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กับพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 --4.2.10 การประชุมสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 -4.3 แนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยประชาชน --4.3.1 การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น --4.3.2 กลไกในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน --4.3.3 การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ -5.1 กระบวนการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -5.2 อภิปรายผลการวิจัย -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ปกหลัง
    2567-02
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    เอกสารข้อมูลพื้นฐาน สรุปสถานการณ์อุทกภัย
    โชคสุข กรกิตติชัย; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานบริการวิชาการ 1 (กลุ่มงานบริการวิชาการ 1 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566-11)
    2566-11
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สรุปบทความวิจัยเพื่อสนับสนุนงานของรัฐสภา ปี 2565
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566)
    2566
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    สรุปบทความวิจัยเพื่อสนับสนุนงานของรัฐสภา ปี 2566
    สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา (กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566)
    2566
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการดำเนินการตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562
    สุวัฒน์ คีรีวิเชียร; สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักการประชุม กลุ่มงานพระราชบัญและญัตติ 1 (กลุ่มงานพระราชบัญและญัตติ 1 สำนักการประชุม สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2566-10)
    ปก คำนำ สารบัญ บทบัญญัติของข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 -ข้อ 1 ชื่อข้อบังคับ -ข้อ 2 วันใช้บังคับ -ข้อ 3 คำนิยาม -ข้อ 4 ผู้รักษาการ -ข้อ 5 ประธานชั่วคราว -ข้อ 6 การเลือกประธาน -ข้อ 7 การเลือกรองประธาน -ข้อ 8 การแจ้งผลการเลือกประธานและรองประธาน -ข้อ 9 หน้าที่และอำนาจของประธาน -ข้อ 10 หน้าที่และอำนาจของรองประธาน -ข้อ 11 หน้าที่เลขาธิการ -ข้อ 12 องค์ประกอบคณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผู้แทนราษฎร -ข้อ 13 การพ้นตำแหน่งของคณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผู้แทนราษฎร -ข้อ 14 หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผู้แทนราษฎร -ข้อ 15 องค์ประกอบคณะกรรมการประสานงานพรรคฝ่ายค้าน -ข้อ 16 การพ้นตำแหน่งของคณะกรรมการประสานงานพรรคฝ่ายค้าน -ข้อ 17 หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการประสานงานพรรคฝ่ายค้าน -ข้อ 18 การประชุมเปิดเผย/การประชุมลับ -ข้อ 19 การประชุมครั้งแรก/การประชุมครั้งต่อไป/การงดการประชุม/การเรียกประชุมเป็นพิเศษ -ข้อ 20 การนัดประชุมสภา -ข้อ 21 การส่งระเบียบวาระ -ข้อ 22 การนัดและส่งเอกสารทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ -ข้อ 23 การจัดระเบียบวาระการประชุม -ข้อ 24 การปรึกษาหารือปัญหาที่เกี่ยวกับความเดือดร้อนของประชาชน -ข้อ 25 องค์ประชุมสภา -ข้อ 26 การสั่งเลื่อนการประชุมเมื่อพ้นกำหนดเวลาประชุม -ข้อ 27 ประธานชั่วคราว -ข้อ 28 การพิจารณาเฉพาะเรื่องและลำดับตามระเบียบวาระการประชุม -ข้อ 29 การขอกล่าวถ้อยคำในที่ประชุม -ข้อ 30 นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีขอชี้แจง -ข้อ 31 ผู้แทนองค์กรขอชี้แจง -ข้อ 32 ประธานขอปรึกษาหารือที่ประชุมในปัญหาใด ๆ -ข้อ 33 รายงานการประชุม -ข้อ 34 การแถลงถึงการแก้ไขเพิ่มเติมรายงานการประชุม -ข้อ 35 ประธานสภาลงลายมือชื่อรับรองรายงานการประชุม -ข้อ 36 มติไม่ให้จดรายงานการประชุมลับ -ข้อ 37 การเปิดเผยรายงานการประชุมลับ -ข้อ 38 มติห้ามโฆษณาข้อความ -ข้อ 39 บุคคลภายนอกยื่นคำร้องขอให้มีการโฆษณาคำชี้แจง -ข้อ 40 การวินิจฉัยคำร้องและคำชี้แจง -ข้อ 41 การโฆษณาคำชี้แจง -ข้อ 42 การแจ้งเรื่องการโฆษณาคำชี้แจงให้บุคคลต่าง ๆ รับทราบ -ข้อ 43 ผู้พิมพ์และโฆษณารายงานการประชุม -ข้อ 44 ความหมายของญัตติ -ข้อ 45 การเสนอญัตติ -ข้อ 46 ญัตติที่ไม่ต้องมีผู้รับรอง -ข้อ 47 ญัตติขอให้สภามีมติให้รัฐมนตรีเข้าร่วมประชุม -ข้อ 48 ญัตติปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจระหว่างองค์กร -ข้อ 49 ญัตติขอให้ตั้งคณะกรรมาธิการ -ข้อ 50 ญัตติด่วน -ข้อ 51 อำนาจของประธานสภาในการวินิจฉัยญัตติ -ข้อ 52 ญัตติที่จะก่อผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย -ข้อ 53 การบรรจุญัตติ -ข้อ 54 ญัตติที่ไม่ต้องเสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือ -ข้อ 55 ห้ามเสนอญัตติอื่นซ้อนญัตติที่กำลังพิจารณา -ข้อ 56 ญัตติที่ห้ามเสนอระหว่างการอภิปราย -ข้อ 57 ญัตติที่ห้ามเสนอในระหว่างการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 58 ญัตติเดิมตกไป -ข้อ 59 การเสนอญัตติล่วงหน้าเป็นหนังสือ -ข้อ 60 การเสนอญัตติที่ไม่ต้องเสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือ -ข้อ 61 การแก้ไขเพิ่มเติมญัตติหรือการถอนญัตติ -ข้อ 62 การถอนชื่อจากการเป็นผู้ร่วมเสนอญัตติ หรือจากการเป็นผู้รับรอง -ข้อ 63 การถอนคำแปรญัตติ -ข้อ 64 การห้ามเสนอญัตติที่มีหลักการเดียวกันเมื่อถึงวาระพิจารณา -ข้อ 65 การห้ามเสนอญัตติที่มีหลักการเดียวกันซึ่งตกไปแล้ว -ข้อ 66 ผู้มีสิทธิอภิปรายก่อน -ข้อ 67 ผู้อภิปรายในลำดับต่อไป -ข้อ 68 มีผู้ขออภิปรายหลายคน -ข้อ 69 ข้อปฏิบัติในการอภิปราย -ข้อ 70 ประธานสั่งให้หยุดอภิปราย -ข้อ 71 การประท้วง -ข้อ 72 การถอนคำพูด -ข้อ 73 การยุติการอภิปราย -ข้อ 74 การปิดอภิปราย -ข้อ 75 การอภิปรายสรุป -ข้อ 76 นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมายให้บุคคลใด ๆ ชี้แจง -ข้อ 77 ประธานเคาะค้อน หรือยืนขึ้น -ข้อ 78 การลงมติ -ข้อ 79 เสียงข้างมาก -ข้อ 80 การออกเสียงลงคะแนนโดยเปิดเผย/การลงคะแนนลับ -ข้อ 81 การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเห็นชอบบุคคล -ข้อ 82 การออกเสียงลงคะแนนของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี -ข้อ 83 การออกเสียงลงคะแนนโดยเปิดเผย -ข้อ 84 การออกเสียงลงคะแนนลับ -ข้อ 85 การขอให้มีการนับคะแนนใหม่ -ข้อ 86 สมาชิกเข้ามาระหว่างลงคะแนน -ข้อ 87 การประกาศมติต่อที่ประชุมสภา -ข้อ 88 ญัตติที่ไม่มีผู้คัดค้าน -ข้อ 89 บันทึกการออกเสียงลงคะแนน -ข้อ 90 คณะกรรมาธิการสามัญสามสิบห้าคณะ -ข้อ 91 การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการ/การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ -ข้อ 92 องค์ประชุมคณะกรรมาธิการ -ข้อ 93 การประชุมคณะกรรมาธิการ -ข้อ 94 ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานคณะกรรมาธิการ -ข้อ 95 ผู้ทรงคุณวุฒิประจำคณะกรรมาธิการ -ข้อ 96 การตั้งคณะอนุกรรมาธิการ -ข้อ 97 การเรียกเอกสาร หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาแถลงข้อเท็จจริง -ข้อ 98 ผู้มีสิทธิเข้าฟังการประชุมคณะกรรมาธิการ -ข้อ 99 ผู้มีสิทธิชี้แจงแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมาธิการ -ข้อ 100 การประกาศกำหนดการประชุมคณะกรรมาธิการ -ข้อ 101 คำแปรญัตติเป็นอันตกไป -ข้อ 102 การสงวนคำแปรญัตติ -ข้อ 103 การสงวนความเห็น -ข้อ 104 คณะกรรมาธิการรายงานต่อสภา -ข้อ 105 ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ -ข้อ 106 คณะกรรมาธิการกระทำกิจการฯ ไม่เสร็จภายในเวลาที่กำหนด -ข้อ 107 การเปิดเผยบันทึกการประชุม รายงานการดำเนินการ รายงานการสอบหาข้อเท็จจริง หรือรายงานการศึกษา ของคณะกรรมาธิการ -ข้อ 108 กรรมาธิการพ้นจากตำแหน่ง -ข้อ 109 การตั้งกรรมาธิการแทนตำแหน่งที่ว่าง -ข้อ 110 รูปแบบร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 111 การตรวจสอบร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 112 การแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 113 ร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอ -ข้อ 114 แจ้งผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน -ข้อ 115 การประชุมเพื่อวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน -ข้อ 116 วาระการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 117 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่หนึ่ง -ข้อ 118 คณะรัฐมนตรีขอรับร่างพระราชบัญญัติไปพิจารณาก่อนรับหลักการ -ข้อ 119 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สอง -ข้อ 120 การพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการเต็มสภา -ข้อ 121 การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่มีสาระสำคัญเกี่ยวกับเด็กฯ -ข้อ 122 การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอ -ข้อ 123 การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อ และคณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอ -ข้อ 124 การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอ และมีสาระสำคัญเกี่ยวกับเด็กฯ -ข้อ 125 การเสนอคำแปรญัตติ -ข้อ 126 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณฯ -ข้อ 127 รูปแบบรายงานของคณะกรรมาธิการ -ข้อ 128 สภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติมทำให้มีลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน -ข้อ 129 การรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินที่สภาได้แก้ไขเพิ่มเติม -ข้อ 130 คณะกรรมาธิการเต็มสภา -ข้อ 131 การพิจารณาเรียงตามลำดับมาตรา -ข้อ 132 การพิจารณาทั้งร่างเป็นการสรุป -ข้อ 133 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สาม -ข้อ 134 ร่างพระราชบัญญัติเป็นอันตกไป -ข้อ 135 ร่างพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้ง -ข้อ 136 การเสนอร่างพระราชบัญญัติต่อวุฒิสภา -ข้อ 137 วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ -ข้อ 138 ร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้วมีข้อผิดพลาด -ข้อ 139 ร่างพระราชบัญญัติที่มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง -ข้อ 140 การรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติเพิ่มเติม -ข้อ 141 ร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติให้พิจารณาต่อไป -ข้อ 142 การตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติให้พิจารณาต่อไป -ข้อ 143 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณา -ข้อ 144 ความหมายของกระทู้ถาม -ข้อ 145 ประเภทของกระทู้ถาม -ข้อ 146 การตั้งกระทู้ถาม -ข้อ 147 ลักษณะต้องห้ามของกระทู้ถาม -ข้อ 148 ลักษณะต้องห้ามของกระทู้ถามที่สามารถตั้งถามใหม่ได้ -ข้อ 149 การตรวจสอบกระทู้ถาม -ข้อ 150 การบรรจุกระทู้ถาม -ข้อ 151 การตอบกระทู้ถาม -ข้อ 152 ลักษณะการตั้งกระทู้ถาม -ข้อ 153 การถอนกระทู้ถาม -ข้อ 154 การนำกระทู้ถามออก -ข้อ 155 กระทู้ถามตกไป -ข้อ 156 การตั้งกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 157 การจับสลากกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 158 การบรรจุกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 159 กำหนดเวลาการถามและการตอบกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 160 การถามกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 161 การสั่งให้เปลี่ยนแปลงคำถามกระทู้ถามสดด้วยวาจา -ข้อ 162 การตั้งกระทู้ถามทั่วไป -ข้อ 163 การวินิจฉัยกระทู้ถามทั่วไป -ข้อ 164 กระทู้ถามที่ต้องตอบในที่ประชุมสภา -ข้อ 165 กระทู้ถามที่ต้องตอบในราชกิจจานุเบกษา -ข้อ 166 การบรรจุกระทู้ถามทั่วไป -ข้อ 167 การถามกระทู้ถามที่ขอให้ตอบในที่ประชุมสภา -ข้อ 168 กระทู้ถามแยกเฉพาะ -ข้อ 169 ห้องกระทู้ถาม -ข้อ 170 การแจ้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีที่ถูกตั้งกระทู้ถามแยกเฉพาะ -ข้อ 171 การบรรจุกระทู้ถามแยกเฉพาะ -ข้อ 172 การถามและตอบกระทู้ถามแยกเฉพาะในห้องกระทู้ถาม -ข้อ 173 จำนวนกระทู้ถามแยกเฉพาะ และกำหนดเวลาการถามและการตอบกระทู้ถามแยกเฉพาะ -ข้อ 174 การเผยแพร่การถามและการตอบกระทู้ถามแยกเฉพาะ -ข้อ 175 การเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ -ข้อ 176 การตรวจสอบญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ -ข้อ 177 ผู้มีสิทธิอภิปรายชี้แจงญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ -ข้อ 178 การอภิปรายและการลงมติไม่ไว้วางใจ -ข้อ 179 การเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป -ข้อ 180 การอภิปรายญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป -ข้อ 181 สถานที่ประชุมสภา/การแต่งกายของสมาชิก -ข้อ 182 การฝ่าฝืนข้อบังคับ -ข้อ 183 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย -ข้อ 184 การงดใช้ข้อบังคับ -ข้อ 185 การตีความข้อบังคับ -ข้อ 186 การขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ -ข้อ 187 การพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้มีการจับฯ สมาชิก -ข้อ 188 ประธานสภาขอให้ปล่อยตัวสมาชิก -ข้อ 189 บทเฉพาะกาล -ข้อ 190 การนำข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฯ พ.ศ. 2553 มาใช้โดยอนุโลม -ข้อ 191 ให้คณะกรรมาธิการวิสามัญที่ตั้งขึ้นก่อนปฏิบัติงานจนเสร็จ -ข้อ 192 ให้บรรดาข้อบังคับฯ ที่มีอยู่ก่อน ใช้ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ บรรณานุกรม
    2566-10