2.04.05.10 เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล (นบส.) รุ่นที่ 9

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 57
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารงบประมาณของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    อัญชิสา ศรีวิระ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนำ -ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -วัตถุประสงค์การศึกษา -ขอบเขตการศึกษา -วิธีการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ -2. แนวคิดเกี่ยวกับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน -3. แนวคิดเกี่ยวกับการประสานงาน (Cooperation Technique) -4. แนวคิดเรื่องการบริหารทีมงานที่มีประสิทธิภาพ -5. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกระบวนการงบประมาณ -6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการศึกษา -วิธีการศึกษา -ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา -เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 สรุปผลการศึกษา -สรุปผลการศึกษา บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ก แนวประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    กลไกการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรไปสู่การปฏิบัติ กรณีศึกษาสำนักกรรมาธิการ 1, 2, 3
    อรวรรณ สังขวารี (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน -2.2 แนวคิดการนำแผนไปปฏิบัติ -2.3 แนวคิดการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร (SWOT Analysis) -2.4 แนวคิดวงล้อเดมมิ่ง (Deming Cycle) -2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 ขอบเขตการศึกษา -3.2 วิธีการศึกษา -3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.5 ระยะเวลาในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 วิเคราะห์การนำแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2557-2560 ไปสู่การปฏิบัติของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 -4.2 การวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการนำแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2557-2560 ไปสู่การปฏิบัติของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 -4.3 ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกคณะกรรมการจัดทำโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 -4.4 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -หน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 -การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 พ.ศ. 2557-2560 เพื่อขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ -ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) -แบบสัมภาษณ์งานวิชาการ เรื่อง กลไกการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรไปสู่การปฏิบัติ กรณีศึกษาสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 -แบบสอบถามการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) ของสำนักกรรมาธิการ 1,2,3 ประวัติย่อผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา
    อภิรักษ์ บัวทอง (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา -3. แนวทางการศึกษา -4. ระเบียบวิธีการศึกษา -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยี --1.1 นิยามของการพัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยี --1.2 แนวคิดการพัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยี -2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการรักษาความปลอดภัย --2.1 นิยามของการรักษาความปลอดภัย --2.2 แนวคิดของการจัดการรักษาความปลอดภัย -3. แผนปฏิบัติการสถานการณ์ฉุกเฉินของสำนักรักษาความปลอดภัย บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา -1. วิธีการศึกษา -2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล -4. การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -1. สรุปผลการวิจัย -2. การอภิปรายผลการศึกษา -3. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา -4. ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษา บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติงานของนิติกร ด้านการดำเนินคดีปกครอง
    อภิชัย น้อยอุ่นแสน (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ความหมาย แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -2.1 ความหมายของคดีปกครอง -2.2 ลักษณะของคดีปกครอง -2.3 หลักนิติรัฐ (Rechtsstaatsprinzip หรือ Rule of Law) -2.4 หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง (Le Principe de Legalite) -2.5 หลักความได้สัดส่วน (Principle of Proportionality) บทที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการดำเนินคดีปกครอง และสภาพปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการ -3.1 ขั้นตอนการเตรียมคดีก่อนส่งเรื่องให้พนักงานอัยการ -3.2 ขั้นตอนการส่งเรื่องและประสานงานกับพนักงานอัยการ ในการขอให้ดำเนินคดีแก้ต่างและว่าต่างในคดีปกครอง -3.3 ขั้นตอนการดำเนินการหลังจากส่งเรื่องให้พนักงานอัยการ บทที่ 4 วิเคราะห์สภาพปัญหา และแนวทางพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการดำเนินคดีปกครอง -4.1 ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินคดีปกครอง -4.2 แนวทางการพัฒนาและแก้ปัญหา บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก สถิติยกร่างกฎหมายและแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการตรวจร่างสัญญา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2556-2560 -ภาคผนวก ข สถิติ การดำเนินคดี ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2560 ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การศึกษาและการวิเคราะห์การจัดการองค์ความรู้ด้านเศรษฐกิจสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติ กลุ่มงานบริการวิชาการ 2 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    อติวิชญ์ แสงสุวรรณ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -2.2 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.3 การวิเคราะห์ทฤษฎีและกรอบแนวคิดการจัดการองค์ความรู้ในองค์กรเพื่อนำไปปรับใช้ในการศึกษา -2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษาและวิเคราะห์การจัดการองค์ความรู้ด้านเศรษฐกิจสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติ บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 วิธีการศึกษา -3.2 ประชากรในการศึกษา -3.3 กลุ่มตัวอย่าง -3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 นโยบาย ยุทธศาสตร์และการจัดการองค์ความรู้ ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -4.2 การจัดการองค์ความรู้ ของสำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -4.3 การจัดการองค์ความรู้ ของกลุ่มงานบริการวิชาการ 2 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 อภิปรายผล -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติของฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการ
    สุวพร นิลทัพ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด หลักวิชาการที่เกี่ยวข้องในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธิการ -2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการร่างกฎหมาย -2.2 แนวคิดความจำเป็นในการตรากฎหมาย -2.3 แนวคิดหลักในการกลั่นกรองเนื้อหากฎหมาย -2.4 แนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -2.5 แนวคิดและทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ -2.6 แนวคิดผลกระทบการตรากฎหมาย บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการของฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ -3.1 กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -3.2 รูปแบบของคณะกรรมาธิการ -3.3 ความสำคัญของระบบกรรมาธิการ -3.4 ข้อบังคับการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2557 -3.5 แนวทางการจัดทำ การเสนอร่างกฎหมาย และการปฏิบัติตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทที่ 4 กระบวนการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติด้านรูปแบบและเนื้อหา -4.1 กระบวนการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติด้านรูปแบบและเนื้อหา -4.2 แนวทางการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติด้านรูปแบบ -4.3 แนวทางการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติด้านเนื้อหา บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะในการตรวจทานร่างพระราชบัญญัติในด้านรูปแบบและเนื้อหา บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาการให้บริการข้อมูลข่าวสารของสำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
    สิริกร เทียนศรี (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.5 นิยามศัพท์ -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน -2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการให้บริการ -2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ -2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ -2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ -2.6 องค์ความรู้ที่ใช้ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 -2.7 องค์ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บทที่ 3 การให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สำนักกรรมาธิการ 1 -3.1 การแบ่งส่วนราชการภายใน และอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการภายในสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -3.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายองค์กร ค่านิยมหลัก และยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -3.3 การปฏิบัติงานด้านข้อมูลข่าวสารของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -3.4 อำนาจหน้าที่ของสำนักกรรมาธิการ 1 การแบ่งส่วนราชการภายใน อัตรากำลัง และลักษณะการปฏิบัติงานให้บริการข้อมูลข่าวสารของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สำนักกรรมาธิการ 1 -3.5 การให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สำนักกรรมาธิการ 1 -3.6 สถิติการให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สำนักกรรมาธิการ 1 -3.7 วิเคราะห์สภาพการให้บริการข้อมูลข่าวสารของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง สำนักกรรมาธิการ 1 โดยหลัก SWOT Analysis บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา -4.1 แนวทางส่งเสริมสนับสนุนส่วนที่เป็นจุดเแข็งและโอกาส -4.2 แนวทางการพัฒนาปรับปรุงส่วนที่เป็นจุดอ่อนและอุปสรรค บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    ปัจจัยการพัฒนาตนเองของข้าราชการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    สิทธิพงษ์ ศรีสุธรรมศักดิ์ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 เหตุผลและความจำเป็น -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 สมมติฐานของการวิจัย -1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 หลักการแนวคิดกับการพัฒนาตนเอง -2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 รูปแบบการศึกษา -3.2 ประชากรที่ศึกษา -3.3 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา -3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล -3.7 สถิติที่ใช้ในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ลักษณะข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม -4.2 ผลการศึกษาความเห็นเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนาตนเอง -4.3 ผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาตนเอง บทที่ 5 บทสรุป -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 อภิปรายผลการศึกษา -5.3 ข้อเสนอแนะ -5.4 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสอบถามปัจจัยในการพัฒนาตนเองของข้าราชการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ประวัติผู้ทำการศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาศักยภาพของนิติกรให้เป็นนักกฎหมายนิติบัญญัติในงานร่างกฎหมาย : ศึกษากรณีสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    สัณห์ชัย สินธุวงษ์ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา --1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.3.2 ระยะเวลาในการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา --1.4.1 วิธีการศึกษา --1.4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 ทฤษฎีการยกร่างกฎหมาย -2.2 ประเภทและลำดับศักดิ์ของกฎหมาย -2.3 กระบวนการตรากฎหมาย -2.4 บทตรวจสอบการยกร่างกฎหมาย (Regulatory Checklist) -2.5 โครงสร้างของกฎหมาย -2.6 เทคนิคการยกร่างกฎหมาย -2.7 หลักเกณฑ์ที่ต้องคำนึงในการร่างกฎหมาย -2.8 คุณสมบัติพื้นฐานของผู้ร่างกฎหมาย บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 วิธีการวิจัย -3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ -4.1 การยกร่างกฎหมายของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร --4.1.1 ขั้นตอนการยกร่างกฎหมาย --4.1.2 ข้อคำนึงก่อนการยกร่างกฎหมาย --4.1.3 เทคนิคการบริการยกร่างกฎหมาย --4.1.4 คุณภาพของงานร่างกฎหมาย -4.2 การยกร่างกฎหมายของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา -4.3 การยกร่างกฎหมายของหน่วยงานธุรการด้านนิติบัญญัติของต่างประเทศ --4.3.1 สหราชอาณาจักร --4.3.2 สาธารณรัฐฝรั่งเศส --4.3.3 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี บทที่ 5 ผลการศึกษา -5.1 ประเด็นในเรื่องโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ -Untitled -5.2 ประเด็นในเรื่องศักยภาพของนิติกร --5.2.1 ปัญหาด้านการขาดกรอบแนวคิดที่ชัดเจนในการจัดทำร่างกฎหมาย --5.2.2 ปัญหาการจัดทำร่างกฎหมายส่วนใหญ่ไม่มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง --5.2.3 ประเด็นการกำหนดให้มีตำแหน่งนักกฎหมายนิติบัญญัติตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 มาตรา 35 บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -6.1 บทสรุป --6.1.1 ระดับบุคคล (Personal Level) --6.1.2 ระดับองค์การ (Organization Level) -ข้อเสนอแนะ --6.2.1 ระดับบุคคล (Personal Level) --6.2.2 ระดับองค์การ (Organization Level) บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา
    2559
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาฐานข้อมูล : กรณีศึกษาเรื่องร้องเรียนของคณะกรรมาธิการการตำรวจ สภาผู้แทนราษฎร
    สมานจิตต์ ลุนทอ (สถาบันพระปกเกล้า, 2559)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -2. วัตถุประสงค์การศึกษา -3. ขอบเขตด้านเนื้อหา -4. วิธีการศึกษา -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -2. แนวคิดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -3. แนวคิดเกี่ยวกับงานด้านเลขานุการ -4. แนวความคิดในการทำงานเป็นทีม -5. แนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ของบุคคลกับการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ -6. แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
    2559