2.05.05 รายงานการศึกษา/วิจัย โดย นิสิตและนักศึกษา
URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้
เรียกดู
รายการที่เพิ่มล่าสุด
รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสืบสวนการตายผิดธรรมชาติของประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ และประเทศญี่ปุ่นจิณณ์พัชฌาณ์ ไชยมะโณ; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ (2564-06)ปกหน้า บทคัดย่อ ABSTRACT กิตติกรรมประกาศ รายการสัญลักษณ์และคำย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหาวิจัย -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 สมมติฐานการวิจัย -1.4 ขอบเขตของการวิจัย -1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 การทบทวนวรรณกรรม --2.1.1 นิติวิทยาศาสตร์ --2.1.2 นิติเวชศาสตร์ --2.1.3 นิติพยาธิวิทยา --2.1.4 การชันสูตรพลิกศพ --2.1.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการชันสูตรพลิกศพ ---2.1.5.1 ประเทศไทย ---2.1.5.2 ประเทศสิงคโปร์ ---2.1.5.3 ประเทศญี่ปุ่น -2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง --2.2.1 การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายในประเทศไทย --2.2.2 การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายในต่างประเทศ บทที่ 3 วิธีการวิจัย -3.1 การชันสูตรพลิกศพ -3.2 หน่วยงานที่ดำเนินการชันสูตรพลิกศพและการบริหารจัดการ -3.3 ผู้ชันสูตรพลิกศพ บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล -4.1 การชันสูตรพลิกศพ -4.2 หน่วยงานที่ดำเนินการชันสูตรพลิกศพ -4.3 ผู้ชันสูตรพลิกศพ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ -5.1 การเปรียบเทียบกฎหมายการชันสูตรพลิกศพของประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์ -5.2 การเปรียบเทียบกฎหมายการชันสูตรพลิกศพของประเทศไทยกับญี่ปุ่น -5.3 กฎหมายการชันสูตรพลิกศพของประเทศไทยและการปรับใช้ข้อเปรียบเทียบ รายการอ้างอิง ประวัติผู้เขียน สารบัญตาราง -ตารางที่ 4.1 ตารางเปรียบเทียบกฎหมายการสืบสวนการตายผิดธรรมชาติของประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ และประเทศญี่ปุ่น: การชันสูตรพลิกศพ -ตารางที่ 4.2 ตารางเปรียบเทียบกฎหมายการสืบสวนการตายผิดธรรมชาติของประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ และประเทศญี่ปุ่น : หน่วยงานที่ดำเนินการชันสูตรพลิกศพ -ตารางที่ 4.3 ตารางเปรียบเทียบกฎหมายการสืบสวนการตายผิดธรรมชาติของประเทศไทย : ผู้ชันสูตรพลิกศพ2564-06รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง การเปลี่ยนแปลงความคิดทางการเมืองในงานวรรณกรรมของนักเขียนอีสานระหว่างทศวรรษ 2530–2550จิณห์วรา ช่วยโชติ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2564-06)ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา -1.2 สมมติฐาน -1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.5 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง --1.5.1 งานศึกษาวรรณกรรมไทยในบริบทการเมืองเสื้อเหลือง-เสื้อแดง --1.5.2 งานศึกษาวรรณกรรมของนักเขียนอีสานในเชิงปัจเจก --1.5.3 งานศึกษานักเขียนอีสานในลักษณะเป็นกลุ่ม -1.6 ขอบเขตและวิธีการศึกษา -1.7 วิธีการวิจัย บทที่ 2 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสานยุคหลัง พคท. จนถึงก่อนทศวรรษ 2530 -2.1 บริบททางสังคมการเมือง และวรรณกรรมยุคหลังพคท. จนถึงทศวรรษ 2530 -2.2 ความคิดทางการเมืองของประเสริฐ จันดำ หมู่บ้านยากจน รัฐละทิ้ง และการถูกคุกคามด้วยความทันสมัยจากเมือง -2.3 ความคิดทางการเมืองของสมคิด สิงสง หมู่บ้านกำลังถูกคุกคามจาก "ความเจริญ" -2.4 สรุป บทที่ 3 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสาน ในบริษัทกระแสความคิดวัฒนธรรมชุมชน และขบวนการภาคประชาชน 2530-2540 -3.1 บริบทสังคมการเมืองและงานวรรณกรรม ทศวรรษ 2530-2550 -3.2 ความคิดทางการเมืองของไพวรินทร์ ขาวงาม การต่อต้านความเป็นเมือง และเสนอทิ้งถิ่นนิยม --3.2.1 การต่อต้านความเป็นเมือง -3.2.2 ท้องถิ่นนิยม -3.3 ความคิดทางการเมืองของสนั่น ชูสกุล -3.3.1 ต่อต้านการพัฒนาจากส่วนกลาง และเสนอการเมืองบนท้องถนน -3.4 สรุป บทที่ 4 ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสาน ทศวรรษ 2540-2550 ในบริบทของโลกาภิวัตน์และการต่อต้านความทันสมัย -4.1 บริบททางสังคมการเมือง และงานวรรณกรรมของนักเรียน ในบริบทของโลกาภิวัตน์และการต่อต้านความทันสมัย -4.2 ความคิดทางการเมืองของมาโนช พรหมสิงห์ การต่อต้านโลกาภิวัฒน์ผ่านประเพณีวัฒนธรรม -4.3 ความคิดทางการเมืองของวีระ สุดสังข์ --4.3.1 วิพากษ์ความทันสมัย และเสนอคนต้นแบบของหมู่บ้าน -4.4 ความคิดทางการเมืองของสมคิด สิงสง เศรษฐกิจพอเพียงคือคำตอบในการต่อต้านโลกาวัตน์ -4.5 สรุป บทที่ 5 ความคิดทางการเมืองของนักเรียนอีสานภายใต้บริบทของการเมืองไทยทศวรรษ 2550-2560 -5.1 บริบทสังคมการเมือง และงานวรรณกรรมของนักเขียนอีสาน ภายใต้บริบทของการเมืองไทยทศวรรษ 2550-2560 -5.2 การนิยม "อีสาน" ใหม่โดยนักเขียนนิตยสารทางอีศาน --5.2.1 การนำเสนอประเด็น "วัฒนธรรมท้องถิ่น" ในนิตยสารทางอีศาน -5.3 การนิยาม "อีสาน" ใหม่ โดยนิตยสารทางชายคาเรื่องสั้น และ นักเขียนอีสาน ภู กระดาษ --5.3.1 การนำเสนอเหตุการณ์การสลายการชุมชนของคนเสื้อแดงในนิตยสารชายคาเรื่องสั้น -5.4 ความคิดทางการเมืองของ ภู กระดาษ --5.4.1 นิยายเนรเทศ การวิพากษ์ประวัติศาสตร์การเมืองแบบเผด็จการ และนำเสนอเรื่องเล่าจากมุมมองของไทยบ้านอีสาน --5.4.2 ทหารลาดตระเวน สัญลักษณ์ของการโฆษณาชวนเชื่อจากรัฐไทย --5.4.3 คนเสื้อแดง ในงานวรรณกรรมของภู กระดาษ -5.5 สรุป บทที่ 6 บทสรุป บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน สารบัญภาพ -ภาพที่ 3.1 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2538 -ภาพที่ 3.2 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2540 -ภาพที่ 3.3 ปกหนังสือม้าก้านกล้วย พิมพ์ครั้งที่ 17 พ.ศ. 25422564-06รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง ผลการปฏิบัติงานโดยรวมของการปกครองท้องถิ่นรูปแบบเทศบาลวาสนา แขอุดม (มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2551)ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาของปัญหา -ความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการศึกษา -ขอบเขตของการวิจัย -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -ส่วนที่ 1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น --การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น --เทศบาล -ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --แนวคิดเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานขององค์การ --การวัดผลการปฏิบัติงานขององค์การ --การวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ส่วนที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --ลักษณะของเทศบาล (Organizational characteristics) --สภาพแวดล้อมของเทศบาล (environmental characteristics) --ลักษณะของนายกเทศมนตรี (mayor characteristics) --นโยบายการจัดการและการปฏิบัติ (managerial policies and practices) -ส่วนที่ 4 โมเดลที่ใช้ในการวิจัย --กรอบแนวความคิดในการวิจัย --สมมติฐานการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -รูปแบบและวิธีการวิจัย -การระบุลักษณะของแบบจำลอง -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -ตัวแปรที่ศึกษา -การสร้างมาตรวัดและนิยามเชิงปฏิบัติการ -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -การหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้วิจัย -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล -การทดสอบความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม -สรุปความ บทที่ 4 ผลการศึกษา -ส่วนที่หนึ่ง ลักษณะทั่วไปของข้อมูล --ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง --ผลการวิเคราะห์สถิติพื้นฐานของตัวแปร --สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย --ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม -ส่วนที่สอง ผลการทดสอบสมมติฐาน --องค์ประกอบของผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --ลักษณะของเทศบาลกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --สภาพแวดล้อมของเทศบาลกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --ลักษณะของนายกเทศมนตรีกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --นโยบายการจัดการและการปฏิบัติกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล --สรุปความ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ -สรุป --สรุปผลที่ได้จากการวิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย --สรุปความมุ่งหมายและวิธีการศึกษาวิจัย --สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน -การอภิปรายผลการวิจัย -ข้อเสนอแนะ --ข้อเสนอแนะจากการวิจัย --ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป สารบัญตาราง -ตาราง 1 ขอบเขต ตัวบ่งชี้ และแนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้พิจารณาผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 2 สรุปกรอบแนวความคิดในการวิจัยผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 3 จำนวนประชากรเป้าหมายและจำนวนตัวอย่าง -ตาราง 4 จำนวนและร้อยละของนายกเทศมนตรีในประเทศไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง (n=300) จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน -ตาราง 5 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของเพศและระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี -ตาราง 6 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของอายุและระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี -ตาราง 7 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของอายุและประสบการณ์ในการทำงานของนายกเทศมนตรี -ตาราง 8 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของเพศและประสบการณ์ในการทำงานของนายกเทศมนตรี -ตาราง 9 จำนวนและร้อยละเทศบาลในประเทศไทยที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง (n=300) จำแนกตามขนาดและที่ตั้งของเทศบาล -ตาราง 10 ตารางไขว้แสดงจำนวนและร้อยละของขนาดและที่ตั้งของเทศบาล -ตาราง 11 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าคะแนนต่ำสุดและค่าคะแนนสูงสุดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย -ตาราง 12 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายใน -ตาราง 13 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายนอกและตัวแปรสังเกตภายใน -ตาราง 14 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตภายนอก -ตาราง 15 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 16 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการกำหนดแผนพัฒนาเทศบาล -ตาราง 17 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการปฏิบัติตามแผนพัฒนาเทศบาล -ตาราง 18 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความสามารถในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล -ตาราง 19 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความมีประสิทธิภาพของเทศบาล -ตาราง 20 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับความมีประสิทธิผลของเทศบาล -ตาราง 21 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับคุณภาพการให้บริการของเทศบาล -ตาราง 22 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระกับการเรียนรู้และการพัฒนาเทศบาล -ตาราง 23 ผลการประมาณค่าพารามิเตอร์ในโมเดลสมการโครงสร้าง (หลังปรับ) -ตาราง 24 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระขนาดของเทศบาล โครงสร้างของเทศบาลและสภาพการใช้เทคโนโลยีของเทศบาลต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 25 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระวัฒนธรรมของเทศบาล ความขัดแย้งในผลประโยชน์ของเทศบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 26 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระระดับการศึกษาของนายกเทศมนตรี ภาวะผู้นำของนายกเทศมนตรีและความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติงานของนายกเทศมนตรี การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ตาราง 27 การวิเคราะห์การถดถอยพหุตัวแปรอิสระการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของเทศบาล การติดต่อสื่อสารของเทศบาลและการจัดหาทรัพยากรของเทศบาล ต่อตัวแปรตามผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล สารบัญภาพประกอบ -ภาพ 1 การกระจายอำนาจและผลลัพธ์ -ภาพ 2 เป้าหมายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี -ภาพ 3 โครงสร้างการบริหารงานของเทศบาล -ภาพ 4 ประเภท เกณฑ์การจัดตั้ง รวมทั้งสมาชิกและผู้บริหารเทศบาล -ภาพ 5 กระบวนการงบประมาณของเทศบาล -ภาพ 6 วงจรการคลังเทศบาล -ภาพ 7 ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณของเทศบาล -ภาพ 8 ขั้นตอนในการเสนอร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติมของเทศบาล -ภาพ 9 hybrid sustainability model -ภาพ 10 ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต ผลกระทบ -ภาพ 11 ระดับการวัดผลการปฏิบัติงาน (level of performance measurement) -ภาพ 12 กรอบความคิดการวัดผลการปฏิบัติงานขององค์การ -ภาพ 13 การควบคุมกำกับผลการปฏิบัติงานรวมขององค์การตามสายโซ่ผลการปฏิบัติงาน -ภาพ 14 การวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมขององค์การ (total organizational performance) -ภาพ 15 กรอบความคิดในการวัดผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 16 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ (major influences on organizational effectiveness) -ภาพ 17 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การ (factors influencing organizational effectiveness) -ภาพ 18 กรอบการวิเคราะห์ทฤษฎีองค์การ -ภาพ 19 กระบวนการติดต่อสื่อสาร (the communication process) -ภาพ 20 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 21 ขั้นตอนการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล -ภาพ 22 กรอบแนวความคิดในการวิจัย -ภาพ 23 แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาพ 24 แบบจำลองสมการโครงสร้างผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาลแบบเต็มรูป -ภาพ 25 แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล (หลังปรับ) ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย -ภาคผนวก ข จดหมายขอความร่วมมือ -ภาคผนวก ค คำสั่งการวิเคราะห์แบบจำลองความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของผลการปฏิบัติงานโดยรวมของเทศบาล -ภาคผนวก ง วิธีการปรับแบบจำลอง -ภาคผนวก จ รายชื่อเทศบาลที่สัมภาษณ์ -ภาคผนวก ฉ การทดสอบความเชื่อถือได้แบบสอบถาม -ภาคผนวก ช ตัวชี้วัดและข้อคำถาม -ภาคผนวก ซ การทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง -ภาคผนวก ฌ การวิเคราะห์ปัญหาภาวะร่วมเส้นตรงพหุ -ภาคผนวก ญ การทดสอบ Normal Distribution บรรณานุกรม -ภาษาไทย -ภาษาอังกฤษ ประวัติผู้วิจัย ปกหลัง2551รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง ตัวแสดงและปัจจัยทางการเมืองในการนำนโยบายการประเมินคุณภาพภายนอกไปปฏิบัติตามแนวนโยบายปฏิรูปการศึกษา : ศึกษากรณีระดับอุดมศึกษา ACTORS AND POLITICAL FACTORS IN THE IMPLEMENTATION OF EXTERNAL QUALITY ASSESSMENT POLICIES FOR EDUCATIONAL REFORM POLICY : CASE STUDY IN HIGHER EDUCATIONภูมิพัฒน์ ศรีวชิรพัฒน์ (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2561)ปก บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา -1.2 คำถามงานวิจัย -1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย -1.4 ขอบเขตการวิจัย --ขอบเขตด้านเนื้อหา --ขอบเขตด้านพื้นที่ --ขอบเขตด้านประชากร --ขอบเขตด้านเวลา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดและทฤษฎีนโยบายสาธารณะ --ความหมายของนโยบายสาธารณะ -2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.1 ความหมายของการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.2 ลักษณะของการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.3 ผู้เกี่ยวข้องในการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.4 ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.5 ลักษณะของนโยบาย --2.2.6 วัตถุประสงค์ของนโยบาย --2.2.7 ความเป็นไปได้ทางการเมือง --2.2.8 ความเป็นไปได้ทางเทคนิคหรือทางทฤษฎี --2.2.9 ลักษณะของหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.10 ทัศนคติของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ --2.2.11 ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกต่าง ๆ ที่นำนโยบายไปปฏิบัติ -2.3 แนวคิดและทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติ --2.3.1 ขั้นตอนกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ ---ขั้นตอนกระบวนการในการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติในระดับมหภาค (macro) ---ขั้นตอนการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติในระดับจุลภาค (micro) -2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบราชการ --2.4.1 ความหมายของระบบราชการ --2.4.2 ทฤษฎีระบบราชการ --2.4.3 อิทธิพลของระบบราชการในกระบวนการการนำนโยบายไปปฏิบัติ (การเกิดนโยบายในระบบราชการและผลกระทบ) -2.5 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเมืองในระบบราชการ --2.5.1 ความหมายของการเมือง --2.5.2 แนวคิดเกี่ยวกับการใช้อำนาจทางการเมือง --2.5.3 อำนาจของการเมืองในองค์การและพฤติกรรมการเมืองในองค์การ --2.5.4 การเมืองในระบบราชการ (Bureaucratic Politics) --2.5.5 ค่านิยมระบบราชการ ---แนวคิดค่านิยมในการทำงาน ---แนวคิดเกี่ยวกับค่านิยมของข้าราชการ ---ระบบราชการไทยกับการบรรลุเป้าหมายของประเทศ --2.5.6 วิชาชีพนิยม (Professionalism) -2.6 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยทางการเมือง -2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ --2.7.1 การประกันคุณภาพ (Quality Assurance: QA) --2.7.2 ความหมายของการประกันคุณภาพ --2.7.3 การประกันคุณภาพการศึกษา --2.7.4 การประเมินคุณภาพภายนอก -2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.9 กรอบแนวคิดการวิจัย บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย -3.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) --ประชากร --ผู้ให้ข้อมูลหลัก --ข้อมูลที่เก็บรวบรวม --วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล --เครื่องมือและวิธีการสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล --วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล -3.2 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) --ประชากร --การสร้างเครื่องมือ --การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทางการเมือง -4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล -4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล -4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 การเมืองในกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ -5.1 การเมืองในขั้นการแปลงนโยบายประเมินคุณภาพภายนอก --5.1.1 บทบาทและอำนาจของตัวแสดงทางการเมือง ---การย้าย สมศ. ขึ้นตรง รมว.ศธ. ---ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 --5.1.2 ค่านิยมองค์การ --5.1.3 ความร่วมมือและความขัดแย้ง -5.2 การเมืองในขั้นสร้างการยอมรับ --5.2.1 บทบาทและอำนาจของตัวแสดงทางการเมือง --5.2.2 ค่านิยมองค์การ --5.2.3 ความร่วมมือและความขัดแย้ง -5.3 การเมืองในขั้นการระดมกำลัง --5.3.1 บทบาทและอำนาจของตัวแสดงทางการเมือง --5.3.2 ค่านิยมองค์การ --5.3.3 ความร่วมมือและความขัดแย้ง -5.4 การเมืองในขั้นปฏิบัติ --5.4.1 บทบาทและอำนาจของตัวแสดงทางการเมือง --5.4.2 ค่านิยมองค์การ --5.4.3 ความร่วมมือและความขัดแย้ง -5.5 การเมืองในขั้นสร้างความเป็นปึกแผ่นต่อเนื่อง --5.5.1 บทบาทและอำนาจของตัวแสดงทางการเมือง --5.5.2 ค่านิยมองค์การ --5.5.3 ความร่วมมือและความขัดแย้ง บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย -สรุปผลการวิจัย -ข้อเสนอแนะ --ฝ่ายการเมือง --ฝ่ายปฏิบัติ --ภาคประชาชน สารบัญตาราง -ตาราง 1 นักทฤษฎีและปัจจัยทางการเมือง -ตาราง 2 จำนวนสถาบันอุดมศึกษาทั้งหมดในเขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล -ตาราง 3 แสดงจำนวนข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม -ตาราง 4 ตารางแสดง จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปร บุคลิกภาพ -ตาราง 5 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปรความรู้ -ตาราง 6 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปร สถานะอำนาจของหน่วยงาน -ตาราง 7 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปร จำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ตาราง 8 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปร ความสามารถในการต่อรอง -ตาราง 9 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่มีระดับความคิดเห็นระดับต่าง ๆ แยกตามรายข้อของตัวแปร การสนับสนุนต่าง ๆ -ตาราง 10 ตารางแสดง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละของจำนวนคนที่แสดงต่อระดับความคิดเห็น ระดับน้อย ระดับปานกลาง และระดับมาก แยกตามตัวแปร -ตาราง 11 สถานะอำนาจ ค่านิยม ความร่วมมือความขัดแย้งของตัวแสดงแต่ละฝ่ายในขั้นตอนการแปลงนโยบาย -ตาราง 12 บทบาทอำนาจ ค่านิยม ความร่วมมือความขัดแย้งของตัวแสดงแต่ละฝ่ายในขั้นตอนการสร้างการยอมรับ -ตาราง 13 บทบาทอำนาจ ค่านิยม ความร่วมมือความขัดแย้งของตัวแสดงแต่ละฝ่ายในขั้นตอนการระดมพลัง -ตาราง 14 บทบาทอำนาจ ค่านิยม ความร่วมมือความขัดแย้งของตัวแสดงแต่ละฝ่ายในขั้นตอนการปฏิบัติ -ตาราง 15 บทบาทอำนาจ ค่านิยม ความร่วมมือความขัดแย้งของตัวแสดงแต่ละฝ่ายในขั้นตอนการสร้างความเป็นปึกแผ่นและต่อเนื่อง สารบัญรูปภาพ -ภาพประกอบ 1 ตัวแบบทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติทางด้านการเมืองของ วรเดช จันทรศร -ภาพประกอบ 2 ความสัมพันธ์ของการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก -ภาพประกอบ 3 กรอบแนวคิดงานวิจัย บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้เขียน2561รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนวสันต์ ชมภูศรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559)ปกหน้า บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 สมมุติฐาน -1.4 ขอบเขตของการศึกษา -1.5 วิธีการดำเนินการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ความเป็นมาและหลักกฎหมายเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน -2.1 ความเป็นมาของกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงในประเทศไทย --2.1.1 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ---2.1.1.1 กฎหมายตราสามดวง ---2.1.1.2 กฎอัยการศึก ร.ศ. 126 ---2.1.1.3 กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ---2.1.1.4 พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธศักราช 2475 --2.1.2 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ---2.1.2.1 พระราชบัญญัติมอบอำนาจให้รัฐบาลในภาวะคับขัน พุทธศักราช 2484 ---2.1.2.2 พระราชบัญญัติให้อำนาจในการป้องกันประเทศในภาวะสงคราม พุทธศักราช 2488 ---2.1.2.3 พระราชบัญญัติกักคุมผู้เป็นภัยแก่ชาติในภาวะคับขัน พุทธศักราช 2488 --2.1.3 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ---2.1.3.1 พระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2495 ---2.1.3.2 พระราชบัญญัติการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2495 ---2.1.3.3 พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ---2.1.3.4 พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 --2.1.4 การเปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงที่บังคับใช้ในปัจจุบัน -2.2 อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน --2.2.1 ความหมายของอำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน ---2.2.1.1 ความหมายทั่วไปของสถานการณ์ฉุกเฉิน ----2.2.1.1.1 ความหมายตามบทบัญญัติกฎหมายของต่างประเทศ ----2.2.1.1.2 ความหมายตามบทบัญญัติกฎหมายของประเทศไทย ---2.2.1.2 ความหมายของอำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน ----2.2.1.2.1 ความหมาย "อำนาจรัฐ" (State Power) ----2.2.1.2.2 ความหมาย "สถานการณ์ฉุกเฉิน" ----2.2.1.2.3 ความหมาย "อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน" ---2.2.1.3 ประเภทของอำนาจรัฐ ----2.2.1.3.1 อำนาจรัฐในภาวะวิกฤต (Pouvoir de crise) ----2.2.1.3.2 อำนาจรัฐในสถานการณ์ที่ไม่ปกติ (Pouvoirs Exceptionnels) --2.2.2 ลักษณะสำคัญของอำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน ---2.2.2.1 เป็นอำนาจรัฐที่กฎหมายบัญญัติเฉพาะในสถานการณ์ฉุกเฉิน ---2.2.2.2 เป็นอำนาจรัฐที่ยกเว้นอำนาจกฎหมายอื่น ---2.2.2.3 เป็นอำนาจชั่วคราว -2.3 พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทย --2.3.1 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทย ก่อนปี พ.ศ. 2540 --2.3.2 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทย หลังปี พ.ศ. 2540 -2.4 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทยกับการใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน --2.4.1 การบัญญัติกฎหมายในสถานการณ์ฉุกเฉิน ---2.4.1.1 เงื่อนไขในการออกพระราชกำหนด ---2.4.1.2 วิธีการและขั้นตอนสำหรับพระราชกำหนด --2.4.2 อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินกับบทยกเว้นการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ -2.5 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการควบคุมการใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน --2.5.1 แนวคิดว่าด้วยหลักนิติรัฐ ---2.5.1.1 องค์ประกอบเชิงรูปแบบ ----2.5.1.1.1 หลักคานและดุลอำนาจ ----2.5.1.1.2 หลักความชอบด้วยกฎหมาย ---2.5.1.2 องค์ประกอบเชิงเนื้อหา ----2.5.1.2.1 หลักแห่งความได้สัดส่วน ----2.5.1.2.2 หลักเคารพสิทธิและเสรีภาพของประชาชน --2.5.2 หลักความชอบด้วยกฎหมายของปฏิบัติการทางปกครอง ---2.5.2.1 หลักความชอบกฎหมายของปฏิบัติการทางปกครอง ----2.5.2.1.1 ความหมายและลักษณะของปฏิบัติการทางปกครอง ----2.5.2.1.2 ประเภทของปฏิบัติการทางปกครอง ---2.5.2.2 หลักเกณฑ์การตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของปฏิบัติการทางปกครอง ----2.5.2.2.1 หลักเกณฑ์ทางเนื้อหา ----2.5.2.2.2 หลักเกณฑ์ทางรูปแบบ --2.5.3 การควบคุมฝ่ายปกครองในสถานการณ์ฉุกเฉิน ---2.5.3.1 ความหมายทั่วไปของการควบคุมฝ่ายปกครอง ---2.5.3.2 ประเภทของการควบคุมฝ่ายปกครอง ----2.5.3.2.1 การควบคุมภายในฝ่ายปกครอง ----2.5.3.2.2 การควบคุมภายนอกฝ่ายปกครอง --2.5.4 ข้อยกเว้นหลักความชอบด้วยกฎหมายของปฏิบัติการทางปกครอง ---2.5.4.1 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉิน ----2.5.4.1.1 ทฤษฎีว่าด้วยสถานการณ์ที่ไม่ปกติ ----2.5.4.1.2 ทฤษฎีว่าด้วยเหตุผลแห่งรัฐ ---2.5.4.2 ทฤษฎีว่าด้วยการกระทำทางรัฐบาล -2.6 แนวความคิดว่าด้วยหลักสิทธิและเสรีภาพ --2.6.1 ความหมายและประเภทของสิทธิและเสรีภาพ ---2.6.1.1 ความหมายของ "สิทธิ" และ "เสรีภาพ" ----2.6.1.1.1 ความหมายของคำว่า "สิทธิ" ----2.6.1.1.2 ความหมายของคำว่า "เสรีภาพ" ---2.6.1.2 ประเภทของสิทธิและเสรีภาพ --2.6.2 หลักการทั่วไปของการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ---2.6.2.1 การรับรองไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจนในรัฐธรรมนูญ ---2.6.2.2 การรับรองโดยปริยายเป็นที่เข้าใจและรู้กันอยู่แล้ว ---2.6.2.3 การรับรองโดยคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ --2.6.3 แนวคิดว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ---2.6.3.1 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ----2.6.3.1.1 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนโดยผ่านกระบวนการศาล ----2.6.3.1.2 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพโดยองค์อื่นที่ไม่ใช่ศาล ---2.6.3.2 มาตรฐานสากลเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ----2.6.3.2.1 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในสถานการณ์ปกติ ----2.6.3.2.2 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในสถานการณ์ฉุกเฉิน --2.6.4 แนวคิดในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ---2.6.4.1 วัตถุประสงค์ในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ----2.6.4.1.1 หลักการว่าด้วยความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ----2.6.4.1.2 หลักการคุ้มครองสิทธิของบุคคลอื่น ---2.6.4.2 เงื่อนไขในการตรากฎหมายเพื่อจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ----2.6.4.2.1 หลักความพอสมควรแก่เหตุ ----2.6.4.2.2 หลักการคุ้มครองสารัตถะแห่งสิทธิและเสรีภาพ ----2.6.4.2.3 หลักการมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไปของกฎหมาย ----2.6.4.2.4 หลักการอ้างบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจในการตรากฎหมาย บทที่ 3 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินของต่างประเทศ -3.1 การใช้อำนาจในสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศฝรั่งเศส --3.1.1 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์สงครามตามรัฐบัญญัติว่าด้วยกฎอัยการศึก ---3.1.1.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการประกาศ ---3.1.1.2 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย ---3.1.1.3 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศใช้ ---3.1.1.4 ผลของการประกาศ --3.1.2 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินตามรัฐบัญญัติว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉิน ค.ศ. 1955 ---3.1.2.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการประกาศ ---3.1.2.2 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย ---3.1.2.3 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศ ---3.1.2.4 ผลของการประกาศ ---3.1.2.5 การควบคุมการใช้อำนาจ -3.2 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศอังกฤษ --3.2.1 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์สงครามตามกฎอัยการศึก --3.2.2 การใช้อำนาจในสถานการณ์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติเหตุภัยพิบัติพลเรือน ค.ศ. 2004 ---3.2.2.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการประกาศ ---3.2.2.2 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย ---3.2.2.3 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศใช้ ---3.2.2.4 ผลของการประกาศ ---3.2.2.5 การควบคุมการใช้อำนาจ -3.3 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศสหรัฐอเมริกา --3.3.1 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ---3.3.1.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการประกาศ ---3.3.1.2 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย ---3.3.1.3 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศใช้ ---3.3.1.4 ผลของการใช้อำนาจ ---3.3.1.5 การควบคุมการใช้อำนาจ --3.3.2 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินตามรัฐบัญญัติสถานการณ์ฉุกเฉินแห่งชาติ ค.ศ. 1998 (The National Emergencies Act 1998) ---3.3.2.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการประกาศ ---3.3.2.2 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย ---3.3.2.3 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศ ---3.3.2.4 ผลของการประกาศใช้ ---3.3.2.5 การควบคุมการใช้อำนาจ --3.3.3 การใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินตามรัฐบัญญัติต่อต้านการก่อการร้าย ค.ศ. 2001 (U.S.A. Patriot Act 2001) ---3.3.3.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการใช้อำนาจ ---3.3.3.2 ผลของการใช้อำนาจ ---3.3.3.3 อำนาจศาลในการพิจารณาคดี -3.4 เปรียบเทียบการใช้อำนาจรัฐในสถานการณ์ฉุกเฉินของต่างประเทศ --3.4.1 การบังคับใช้กฎหมาย --3.4.2 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศใช้ --3.4.3 การควบคุมการใช้อำนาจ บทที่ 4 กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินกับผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน -4.1 พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 --4.1.1 ความเป็นมาของกฎหมาย --4.1.2 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการใช้อำนาจ --4.1.3 ผู้ใช้อำนาจตามกฎหมาย --4.1.4 ขอบเขตระยะเวลาของการประกาศใช้ --4.1.5 การบังคับใช้กฎหมาย --4.1.6 บทกำหนดโทษ --4.1.7 การยกเลิกการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน --4.1.8 การควบคุมการใช้อำนาจ -4.2 การบังคับใช้กฎหมายกับผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน --4.2.1 ปัญหาสถานการณ์ชุมนุมทางการเมือง (เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553) ---4.2.1.1 ความเป็นมาและประเด็นในทางกฎหมาย ---4.2.1.2 มาตรการทางกฎหมาย ---4.2.1.3 ปัญหาข้อเท็จจริง ----4.2.1.3.1 กรณีความชอบด้วยกฎหมาย ----4.2.1.3.2 กรณีการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต่อผู้ชุมนุม --4.2.2 ปัญหาสถานการณ์การก่อเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ---4.2.2.1 เหตุการณ์การก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ---4.2.2.2 มาตรการทางกฎหมาย ---4.2.2.3 ปัญหาข้อเท็จจริง ----4.2.2.3.1 กรณีการคัดค้านการขยายระยะเวลาการควบคุมตัว ----4.2.2.3.2 กรณีการเข้าปิดล้อม ตรวจค้น และการควบคุมตัว ----4.2.2.3.3 กรณีการซ้อมทรมานและการบังคับให้บุคคลสูญหาย บทที่ 5 บทวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน -5.1 ปัญหาเกี่ยวกับการจำกัดโอกาสในการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 --5.1.1 ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการก่อนการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน --5.1.2 ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน -5.2 ปัญหาเกี่ยวกับการยกเว้นความรับผิดของเจ้าหน้าที่รัฐ --5.2.1 การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมาย --5.2.2 การปฏิบัติหน้าที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมาย -5.3 ปัญหาเกี่ยวกับผลกระทบต่อองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ --5.3.1 ปัญหาเกี่ยวกับผลกระทบต่อเขตอำนาจศาล --5.3.2 ปัญหาเกี่ยวกับองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ -5.4 ปัญหาเกี่ยวกับการจำกัดการใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชนที่เกินสมควรแก่เหตุ --5.4.1 การใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 9 ---5.4.1.1 ห้ามบุคคลออกนอกเคหสถานภายในระยะเวลาที่กำหนด ---5.4.1.2 ห้ามมิให้การชุมนุม หรือมั่วสุม ณ ที่ใด ๆ หรือกระทำการใด ๆ อันเป็นการยุยงให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย ---5.4.1.3 ห้ามการเสนอข่าว การจำหน่าย หรือทำให้แพร่หลายซึ่งหนังสือพิมพ์หรือสื่ออื่นใด --5.4.2 การใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 11 ---5.4.2.1 การจับกุมและควบคุมตัวบุคคลที่สงสัยว่าเป็นผู้ร่วมกระทำการ ---5.4.2.2 การออกคำสั่งเรียกให้บุคคลใดรายงานตัว หรือให้ถ้อยคำ ---5.4.2.3 การออกคำสั่งห้ามกระทำการใด ๆ อันส่งผลกระทบต่อการรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัยของประชาชน -5.5 ปัญหาเกี่ยวกับความสัมฤทธิ์ผลของการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -6.1 บทสรุป -6.2 ข้อเสนอแนะ รายการอ้างอิง ภาคผนวก ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ปกหลัง2559รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง การบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทยอธิพัฒน์ สินทรโก (มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562-06)ปก กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ของการวิจัย -กรอบแนวคิดในการวิจัย -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -ขอบเขตของการวิจัย -นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิดการบริหารราชการแผ่นดิน -แนวคิดการปฏิรูประบบราชการ -แนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New public management [NPM]) -แนวคิดการให้บริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) -แนวคิดประสิทธิผลในการบริหารจัดการภาครัฐ -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -วิธีการวิจัย -ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวิจัย -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -การพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง -การเก็บรวบรวมข้อมูล -ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลวิจัย -การวิเคราะห์และการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิจัย -ส่วนที่ 1 ปัญหาและอุปสรรคการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่มีผลในการพัฒนาประเทศไทย -ส่วนที่ 2 ปัจจัยความสำเร็จที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการบริหารงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย -ส่วนที่ 3 แนวทางการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทย บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล -สรุปผลการวิจัย -อภิปรายผล -ข้อเสนอแนะ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ -ตารางที่ 2 ปัญหาของการบริหารราชการส่วนภูมิภาค -ตารางที่ 3 ความหมายของการปฏิรูประบบราชการ -ตารางที่ 4 ปัญหาและความจำเป็นของการปฏิรูประบบราชการ -ตารางที่ 5 ความหมายของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ -ตารางที่ 6 สรุปบัญญัติ 7 ประการของแนวคิด NPS และการตีความ -ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการร่วมผลิตบริการสาธารณะของ NPM และ NPS -ตารางที่ 8 ความหมายของประสิทธิผล -ตารางที่ 9 จังหวัดที่ได้รับรางวัล จำแนกตามภูมิภาค -ตารางที่ 10 สรุปวิธีการดำเนินการวิจัย -ตารางที่ 11 สรุปข้อเสนอแนวทางในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทยของผู้ให้ข้อมูลสำคัญแต่ละท่าน -ตารางที่ 12 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่สามารถดำเนินภารกิจการให้บริการสาธารณะที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ -ตารางที่ 13 สรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัย สารบัญภาพ -ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย -ภาพที่ 2 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน -ภาพที่ 3 ลักษณะสำคัญของการบริหารราชการส่วนภูมิภาค -ภาพที่ 4 ปัญหาในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่เป็นข้อจำกัดในการพัฒนาประเทศไทย -ภาพที่ 5 ปัจจัยความสำเร็จที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการบริหารงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย -ภาพที่ 6 แนวทางการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทย -ภาพที่ 7 เปรียบเทียบการลดขนาดส่วนกลาง -ภาพที่ 8 สรุปปัญหา อุปสรรค และปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทย -ภาพที่ 9 รายละเอียดแนวทางการบริหารราชการส่วนภูมิภาคที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในการพัฒนาประเทศไทย บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก เครื่องมือการวิจัย -ภาคผนวก ข บทสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประวัติย่อของผู้วิจัย2562-06รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง ปัญหาขอบเขตการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาศตพล วรปัญญาตระกูล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557)ปกหน้า บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 สมมติฐาน -1.5 วิธีการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -2.1 บ่อเกิดแห่งความคุ้มกันที่มาจากเอกสิทธิ์ --2.1.1 ความหมายของเอกสิทธิ์ --2.1.2 หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับเอกสิทธิ์ --2.1.3 ประเภทของเอกสิทธิ์ ---2.1.3.1 เอกสิทธิ์เกี่ยวกับความเป็นอิสระของการพูด (Privilege of Freedom of Speech) ---2.1.3.2 เอกสิทธิ์ที่เกี่ยวกับความเป็นอิสระในการไม่ถูกจับกุม หรือดำเนินคดี (Privilege of Freedom from Arrested or Prosecuted for acts) -2.2 ความหมายของความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา --2.2.1 ความหมายทั่วไป --2.2.2 ความหมายเฉพาะความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา -2.3 หลักการสำคัญของความคุ้มกัน --2.3.1 หลักความไม่ต้องรับผิดชอบของรัฐสภา (Parliamentary Non-Accountability หรือ Liability) --2.3.2 หลักความละเมิดไม่ได้ของรัฐสภา (Parliamentary Inviolability) -2.4 ความคุ้มกันในฐานะข้อยกเว้นของหลักความเสมอภาค --2.4.1 ความหมายของหลักความเสมอภาค --2.4.2 ประเภทของหลักความเสมอภาค ---2.4.2.1 หลักความเสมอภาคทั่วไป ---2.4.2.2 หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง ----2.4.2.2.1 ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม ----2.4.2.2.2 ความเสมอภาคในภาระสาธารณะ --2.4.3 หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญไทยแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 --2.4.4 ข้อยกเว้นของหลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญไทย --2.4.5 หลักเกณฑ์ปฏิบัติตามหลักความเสมอภาค ---2.4.5.1 การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรมเกิดจากสภาพของเรื่องที่แตกต่างกัน ---2.4.5.2 การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรมเกิดจากความจำเป็นเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ---2.4.5.3 การอ้างประโยชน์สาธารณะเพื่อไม่ต้องการเคารพต่อหลักแห่งความเสมอภาค ---2.4.5.4 การปฏิบัติให้แตกต่างกันอันเนื่องมาจากระบบที่แตกต่างกัน ---2.4.5.5 การปฏิบัติให้แตกต่างกันอันเนื่องมาจากประเพณี ---2.4.5.6 การปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกัน ---2.4.5.7 การกำหนดกฎเกณฑ์เพื่อการปฏิบัติให้แตกต่างกันนั้น ---2.4.5.8 การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรมมุ่งลดความเหลื่อมล้ำที่ดำรงอยู่ --2.4.6 ความผูกพันขององค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐต่อหลักความเสมอภาค ---2.4.6.1 ความผูกพันของฝ่ายนิติบัญญัติต่อหลักความเสมอภาค ---2.4.6.2 ความผูกพันของฝ่ายบริหารต่อหลักความเสมอภาค ---2.4.6.3 ความผูกพันของฝ่ายตุลาการต่อหลักความเสมอภาค --2.4.7 หลักความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม -2.5 หลักความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรมทางอาญากับเอกสิทธิ์ของสมาชิกรัฐสภา บทที่ 3 ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาต่างประเทศ -3.1 ความเป็นมาและพัฒนาการของความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา -3.2 การให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาในประเทศตะวันตก --3.2.1 ประเทศอังกฤษ --3.2.2 ประเทศฝรั่งเศส --3.2.3 ประเทศสหรัฐอเมริกา --3.2.4 ประเทศออสเตรีย --3.2.5 ประเทศไอร์แลนด์ -3.3 การให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาในประเทศตะวันออก --3.3.1 ประเทศอินเดีย --3.3.2 ประเทศฟิลิปปินส์ บทที่ 4 พัฒนาการและสภาพปัญหาการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย -4.1 พัฒนาการของการให้ความคุ้มกันของสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย --4.1.1 การให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาก่อนรัฐธรรมนูญปี 2550 ---4.1.1.1 ขอบเขตและลักษณะของความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ---4.1.1.2 กระบวนการของการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ---4.1.1.3 ระยะเวลาของความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ---4.1.1.4 องค์กรหรือบุคคลที่ได้รับความคุ้มกัน ---4.1.1.5 องค์กรหรือบุคคลที่ให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ---4.1.1.6 กรณีความคุ้มกันสิ้นสุดลง ----4.1.1.6.1 โดยการอนุญาต ----4.1.1.6.2 โดยการนิ่งเฉยหรือปฏิเสธในสมัยประชุมสภา ----4.1.1.6.3 โดยรัฐธรรมนูญและไม่มีข้อยกเว้นซ้อนข้อยกเว้น ----4.1.1.6.4 โดยกฎหมายอื่น ---4.1.1.7 ข้อยกเว้นเกี่ยวกับการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.1.7.1 กรณีที่มีข้อยกเว้นซ้อนข้อยกเว้น ----4.1.1.7.2 กรณีข้อยกเว้นการให้ความคุ้มกันรัฐสภาที่เป็นเด็ดขาด --4.1.2 การให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญปี 2550 ---4.1.2.1 บุคคลที่ได้รับความคุ้มกันตามรัฐธรรมนูญ ----4.1.2.1.1 สมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.1.2 บุคคลอื่น ---4.1.2.2 ขอบเขตของการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.2.1 กรณีที่ถูกจับคุมขัง หรือหมายเรียกตัวมาสอบสวนในฐานะผู้ต้องหาในคดีอาญา ----4.1.2.2.2 กรณีถูกจับขณะกระทำความผิด ----4.1.2.2.3 กรณีการฟ้องเพื่อให้ศาลพิจารณาคดีอาญา ---4.1.2.3 กระบวนการของการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.3.1 โดยประธานสภา ----4.1.2.3.2 โดยสภา ---4.1.2.4 ผลของความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.4.1 กรณีที่ถูกจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวมาสอบสวนในฐานะผู้ต้องหาในคดีอาญา ----4.1.2.4.2 กรณีที่สมาชิกรัฐสภาถูกจับขณะกระทำความผิด ----4.1.2.4.3 กรณีสมาชิกรัฐสภาถูกคุมขังในระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาของศาลอยู่ก่อนสมัยประชุมสภา ----4.1.2.4.4 กรณีการฟ้องเพื่อให้ศาลพิจารณาคดีอาญา ---4.1.2.5 ระยะเวลาของการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ---4.1.2.6 การสละหรือเพิกถอนความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.6.1 การสละความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.6.2 การอนุญาตหรือไม่อนุญาตในการจับกุมสมาชิกรัฐสภาในระหว่างสมัยประชุมสภา ---4.1.2.7 สถาบัน องค์กรหรือบุคคลที่ให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.7.1 โดยรัฐธรรมนูญ ----4.1.2.7.2 โดยประธานสภา ----4.1.2.7.3 โดยสภา ---4.1.2.8 ข้อยกเว้นที่ไม่ได้รับความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ----4.1.2.8.1 กรณีสภาอนุญาตให้ดำเนินตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ----4.1.2.8.2 กรณีการกระทำความผิดทางอาญาตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง ----4.1.2.8.3 กรณีการพิจารณาคดีพิพากษาที่ศาลได้กระทำก่อนมีคำอ้างว่าเป็นสมาชิกสภาใดสภาหนึ่ง ----4.1.2.8.4 กรณีการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง -4.2 ปัญหาการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา --4.2.1 ปัญหาองค์กรหรือบุคคลผู้พิจารณาให้ความคุ้มกันหรือเพิกถอนความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา --4.2.2 ปัญหากระบวนการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา --4.2.3 ปัญหาประเภทคดีอาญาที่สมาชิกรัฐสภาได้รับความคุ้มกัน --4.2.4 ปัญหาการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาที่กระทบต่อสิทธิของคู่กรณีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ---4.2.4.1 สิทธิการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็วและทั่วถึง ---4.2.4.2 สิทธิที่จะให้คดีของตนได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม --4.2.5 ปัญหาการให้ความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภาที่ขัดต่อหลักความเสมอภาค บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ --5.2.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย --5.2.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป รายการอ้างอิง ภาคผนวก -ภาคผนวก ก. กรอบความคิดความคุ้มกัน -ภาคผนวก ข. สาระของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ สารบัญตาราง -ตารางที่ 1 ความแตกต่างระหว่างหลักความไม่ต้องรับผิดชอบของรัฐสภา (Parliamentary Non-Accountability) กับหลักความละเมิดไม่ได้ทางรัฐสภา (Parliamentary Inviolability) -ตารางที่ 2 หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญไทยแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 -ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการเพิกถอนความคุ้มกันสมาชิกรัฐสภา -ตารางที่ 4 เปรียบเทียบการให้ความคุ้มกันรัฐระหว่างรัฐธรรมนูญก่อนปี 2550 และรัฐธรรมนูญ ปี 2550 -ตารางที่ 5 เปรียบเทียบการให้ความคุ้มกันรัฐสภา กรณีสมาชิกสภาถูกจับ คุมขัง หมายเรียกตัว หรือฟ้อง/พิจารณาคดี สารบัญแผนภาพ -แผนภาพที่ 1 กระบวนการให้ความคุ้มกันรัฐสภาของประเทศอังกฤษ -แผนภาพที่ 2 กระบวนการเพิกถอนความคุ้มกันรัฐสภาของฝรั่งเศส -แผนภาพที่ 3 กระบวนการให้ความคุ้มกันแก่พยานหรือการให้ข้อมูลแก่สภาหรือคณะกรรมาธิการ -แผนภาพที่ 4 กระบวนการให้ความคุ้มกันรัฐสภาของราชยสภา กรณีการกระทำละเมิดเอกสิทธิ์ของรัฐสภา -แผนภาพที่ 5 กระบวนการให้ความคุ้มกันรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 131 ปกหลัง2557รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง ผลการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยการใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยมาลินี ป้อมเขตร (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 2559)ปกหน้า บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์การวิจัย -ขอบเขตการวิจัย -นิยามศัพท์เฉพาะ -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี) -การจัดประสบการณ์เสริมสร้างจิตพิสัยสำหรับเด็กปฐมวัย -การจัดประสบการณ์เสริมสร้างจิตพิสัยโดยการเล่านิทานประกอบหนังสือภาพสำหรับเด็กปฐมวัย -งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง --งานวิจัยในประเทศ --งานวิจัยต่างประเทศ -กรอบแนวคิดการวิจัย -สมมุติฐานการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล -สถิติที่ใช้ในการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ -การเก็บรวบรวมข้อมูล -อภิปรายผล -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก --รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ -ภาคผนวก ข --แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพ --ตารางแสดงการประเมินคุณภาพแผนการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย --ตารางแสดงผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย -ภาคผนวก ค --ตารางแสดงผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับแบบสังเกตพฤติกรรมก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย โดยผู้เชี่ยวชาญ -ภาคผนวก ง --แผนการจัดประสบการณ์การใช้นิทานหนังสือภาพในการปลูกฝังความมีวินัยในตนเอง ของเด็กปฐมวัย --ผลการสังเกตพฤติกรรมก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย ด้านความซื่อสัตย์สุจริต --ผลการสังเกตพฤติกรรมก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย ด้านความมีระเบียบวินัย --ผลการสังเกตพฤติกรรมก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย ด้านความรับผิดชอบ -ภาคผนวก จ --ภาพการจัดประสบการณ์ ประวัติย่อผู้วิจัย สารบัญตาราง -ตารางที่ 2.1 ตารางกิจกรรมประจำวัน -ตารางที่ 3.1 แสดงเนื้อหาและเวลาที่ใช้จัดประสบการณ์ ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 -ตารางที่ 3.2 การดำเนินการจัดประสบการณ์ที่เสริมสร้างจิตพิสัยโดยการเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย -ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพที่มีผลต่อความมีวินัยในตนเองผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มโดยรวมทุกด้านและแยกเป็นรายด้าน -ตารางที่ 4.2 แสดงผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพ โดยรวมทุกด้านผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม -ตารางที่ 4.3 แสดงผลพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยด้านความซื่อสัตย์สุจริต ระหว่างก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพ -ตารางที่ 4.4 แสดงผลพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยด้านความมีระเบียบ ระหว่างก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพ -ตารางที่ 4.5 แสดงผลพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยด้านความรับผิดชอบ ระหว่างก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์การเล่านิทานประกอบหนังสือภาพ สารบัญภาพ -ตารางภาพที่ 2.2 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย ปกหลัง2559รายการข้อมูล จำกัดสิทธิ์การเข้าถึง การศึกษาอิทธิพลของการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว สถาบันการศึกษา ที่ทำงานและสื่อมวลชน ที่ส่งผลต่อความโน้มเอียงทางการเมือง ความผูกพันต่อพรรคการเมืองและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจกมลวรรณ คารมปราชญ์, ผู้วิจัย (สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2550-12)ปกหน้า บทคัดย่อ ประกาศคุณูปการ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ภูมิหลัง -ความมุ่งหมายของการวิจัย -ความสำคัญของการวิจัย -ขอบเขตการวิจัย -กรอบแนวคิดในการวิจัย -สมมติฐานในการวิจัย บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง -ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง -แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางการเมือง --ตัวการในกระบวนการถ่ายทอดทางการเมือง --การถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว --การถ่ายทอดทางการเมืองจากสถาบันการศึกษา --การถ่ายทอดทางการเมืองจากที่ทำงาน --การถ่ายทอดทางการเมืองจากสื่อมวลชน --ผลของการถ่ายทอดทางการเมือง ---ความโน้มเอียงทางการเมือง ---ความผูกพันต่อพรรคการเมือง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง --ประชากรในการวิจัย --กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย -เครื่องมือและคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล --เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล --การหาคุณภาพเครื่องมือวัดที่ใช้ในการวิจัย --เครื่องมือวัดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล -ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง สถิติพื้นฐาน และผลการตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้น -ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของแบบจำลองพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ 1 -ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว สถาบันการศึกษา ที่ทำงาน และสื่อมวลชน ที่ส่งผลต่อความโน้มเอียงทางการเมืองและความผูกพันต่อพรรคการเมือง เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ 2 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -วัตถุประสงค์ -สมมติฐาน -วิธีดำเนินการวิจัย -สรุปผลการวิจัย -อภิปรายผลการวิจัย -ข้อเสนอแนะ บัญชีตาราง -ตาราง 1 รูปแบบและกิจกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน -ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง -ตาราง 3 ค่าต่ำสุด - ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ของตัวแปร -ตาราง 4 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันของตัวแปร -ตาราง 5 แสดงค่าสถิติประเมินความกลมกลืนของแบบจำลองพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองก่อนปรับ และหลังจากปรับครั้งที่ 1 -ตาราง 6 แสดงอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของตัวแปรภายนอกที่ส่งผลต่อตัวแปรภายใน และอิทธิพลของตัวแปรภายในด้วยกันเอง [หลังจากปรับโมเดลครั้งที่ 1] -ตาราง 7 ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามจำแนกตามระดับของตัวแปรอิสระ -ตาราง 8 ผลการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว และสถาบันการศึกษาที่ส่งผลต่อความโน้มเอียงทางการเมืองและความผูกพันต่อพรรคการเมือง -ตาราง 9 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรตาม จำแนกตามอิทธิพลของการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว สาขาวิชาที่เรียนในระดับปริญญาตรี และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเสริมหลักสูตร -ตาราง 10 ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามจำแนกตามระดับของตัวแปรอิสระ -ตาราง 11 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความโน้มเอียงทางการเมือง และความผูกพันต่อพรรคการเมือง จำแนกตามระดับการได้รับการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว และระดับการได้รับการถ่ายทอดทางการเมืองจากที่ทำงาน -ตาราง 12 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความโน้มเอียงทางการเมือง และความผูกพันต่อพรรคการเมือง จำแนกตามอิทธิพลของการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัวและที่ทำงาน -ตาราง 13 ค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามจำแนกตามระดับของตัวแปรอิสระ -ตาราง 14 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความโน้มเอียงทางการเมือง และความผูกพันต่อพรรคการเมือง จำแนกตามระดับการได้รับการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัว และระดับการได้รับการถ่ายทอดทางการเมืองจากสื่อมวลชน -ตาราง 15 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความสำนึกทางการเมือง ความไว้วางใจทางการเมือง ความรู้สึกมีประสิทธิภาพทางการเมือง และความผูกพันต่อพรรคการเมือง จำแนกตามอิทธิพลของการถ่ายทอดทางการเมืองจากครอบครัวและสื่อมวลชน -ตาราง 16 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) และผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของเครื่องมือวัดพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง -ตาราง 17 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดการสื่อสารทางการเมืองในครอบครัว -ตาราง 18 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย -ตาราง 19 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเสริมหลักสูตร -ตาราง 20 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดการสื่อสารทางการเมืองในที่ทำงาน -ตาราง 21 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดบรรยากาศองค์กรแบบประชาธิปไตย -ตาราง 22 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดการเปิดรับข่าวสารทางการเมืองจากสื่อมวลชน -ตาราง 23 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดความโน้มเอียงทางการเมือง -ตาราง 24 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าความเชื่อมั่นความสอดคล้องภายใน (ค่าแอลฟ่า) ของเครื่องมือวัดความผูกพันต่อพรรคการเมือง -ตาราง 25 ค่าสถิติ และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (Std.Error) ของความเบ้ และความโด่งของตัวแปร -ตาราง 26 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันของตัวแปร บัญชีภาพประกอบ -ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย -ภาพประกอบ 2 แบบจำลองพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจ -ภาพประกอบ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางการเมืองและผลต่อเนื่อง -ภาพประกอบ 4 แสดงความเชื่อมโยงระหว่างความผูกพันต่อพรรคการเมืองกับความต้องการของกลุ่ม -ภาพประกอบ 5 แบบจำลองพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจหลังการปรับรูปแบบของแบบจำลองเพื่อให้สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลตามสมมติฐานการวิจัยได้ -ภาพประกอบ 6 ผลการทดสอบความกลมกลืนของแบบจำลองพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจ [หลังการปรับครั้งที่ 1] -ภาพประกอบ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างความโน้มเอียงทางการเมืองและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจ -ภาพประกอบ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อพรรคการเมืองและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก. รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาเครื่องมือวัดและคุณภาพเครื่องมือวัด -ภาคผนวก ข. ผลการตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้น ประวัติย่อผู้วิจัย ปกหลัง2550-12รายการข้อมูล เปิดให้เข้าถึงได้ ผลประโยชน์ทับซ้อนมาตรการของรัฐ และปัจจัยเอื้ออำนวยที่มีผลต่อการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสุนทรี เนียมณรงค์ (มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 2552)ปกหน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ABSTRACT สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -ความนำ -ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -วัตถุประสงค์ในการวิจัย -ขอบเขตของการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -โครงสร้างของดุษฎีนิพนธ์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม -ความนำ -สาเหตุของการคอร์รัปชัน -ประเภทของการคอร์รัปชัน -รูปแบบของการคอร์รัปชัน -ปัจจัยเอื้ออำนวย -การมีผลประโยชน์ทับซ้อน -มาตรการของรัฐ -กรอบแนวความคิดการวิจัย บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย -ความนำ -แนวทางที่ใช้ในการศึกษา -ประชากรเป้าหมาย -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -การวิเคราะห์ข้อมูล -การวิเคราะห์เหตุการณ์ตามหลักทฤษฎี -การประเมินผลงานการวิจัยเชิงคุณภาพ บทที่ 4 สถานการณ์การคอร์รัปชัน การมีผลประโยชน์ทับซ้อนและปัจจัยที่เอื้ออำนวยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ความนำ -สถานการณ์การคอร์รัปชัน -สถานการณ์การมีผลประโยชน์ทับซ้อน -สถานการณ์การมีปัจจัยเอื้ออำนวย -การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ -สรุปภาพรวมโครงสร้างของการคอร์รัปชัน -สรุปภาพรวมเนื้อหาของการคอร์รัปชัน บทที่ 5 ประสิทธิผลของมาตรการของรัฐในการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษผู้กระทำการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ความนำ -ประสิทธิผลของมาตรการการป้องกันของรัฐ -ประสิทธิผลของมาตรการปราบปรามของรัฐ -ประสิทธิผลของมาตรการการลงโทษ -สรุปภาพรวมโครงสร้างของประสิทธิผลของมาตรการของรัฐ -สรุปภาพรวมเนื้อหาของประสิทธิผลของมาตรการของรัฐ บทที่ 6 อิทธิพลของการมีผลประโยชน์ทับซ้อน ปัจจัยเอื้ออำนวย และมาตรการของรัฐในการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษที่มีผลต่อการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ความนำ -อิทธิพลของการมีผลประโยชน์ทับซ้อน -อิทธิพลของปัจจัยเอื้ออำนวยที่มีผลต่อการคอร์รัปชัน -อิทธิพลของมาตรการของรัฐในการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษ -ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากกลุ่มประชากรเป้าหมาย -ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของกลุ่มเจ้าหน้าที่ สตง. -สรุปภาพรวมของอิทธิพลของมาตรการของรัฐ บทที่ 7 สรุปข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ -ความนำ -ข้อค้นพบเกี่ยวกับปัจจัยเอื้ออำนวยที่มีผลต่อการคอร์รัปชันและการมีผลประโยชน์ทับซ้อน -ข้อค้นพบเกี่ยวกับประสิทธิผลของมาตรการของรัฐ -ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข เอกสารอ้างอิง -ภาษาไทย -ภาษาต่างประเทศ ภาคผนวก -ภาคผนวก ก บัญชีรายชื่ออักษรย่อในวรรณกรรมที่ศึกษา -ภาคผนวก ข คู่มือลงรหัสข้อมูลจากกรณีศึกษา -ภาคผนวก ค คู่มือลงรหัสข้อมูลจากประเด็นการสัมภาษณ์เจาะลึก สารบัญตาราง -ตาราง 1.1 ดัชนีการคอร์รัปชันระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านระหว่างปี 2545-2551 -ตาราง 1.2 สรุปผลการตรวจสอบของ สตง. ที่สามารถคำนวณมูลค่าความเสียหายเป็นตัวเงินปีงบประมาณ พ.ศ. 2548-2550 จำนวน 980.3 ล้านบาท -ตาราง 2.1 สัญญาณเตือนภัย 15 ประการที่ต้องพึงระมัดระวังอย่างเป็นพิเศษ -ตาราง 2.2 ตัวแปรหลัก และตัวแปรประกอบของการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ตาราง 3.1 ประชากรเป้าหมายที่ใช้ในการสัมภาษณ์เจาะลึก -ตาราง 3.2 สถิติพรรณนาผู้บริหารท้องถิ่น และปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ตาราง 3.3 สถิติพรรณนาหัวหน้าส่วนการคลังและหัวหน้าส่วนโยธา -ตาราง 3.4 สถิติพรรณนาเจ้าหน้าที่พัสดุ จำนวน 21 คน และกลุ่มเจ้าหน้าที่ สตง. จำนวน 40 คน -ตาราง 3.5 สถิติพรรณนาการมีส่วนได้เสียทางตรงของนายก อบต. ใช้รถยนต์ราชการเพื่อส่วนตัว -ตาราง 3.6 กลุ่มประชากรเป้าหมายที่เก็บข้อมูลด้วยการสังเกตจากการตรวจสอบ จำนวน 42 แห่ง -ตาราง 4.1 สาเหตุของการคอร์รัปชันเก็บข้อมูลจากกรณีศึกษา -ตาราง 4.2 ความเห็นของผู้บริหารท้องถิ่น และปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ตาราง 4.3 ความเห็นของหัวหน้าส่วนการคลัง และหัวหน้าส่วนโยธา -ตาราง 4.4 ความเห็นของเจ้าหน้าที่พัสดุ และเจ้าหน้าที่ สตง. -ตาราง 4.5 สถิติพรรณนาคุณสมบัติองค์กร และกลุ่มจังหวัดที่ศึกษา -ตาราง 4.6 ประเภทความผิด และมูลค่าความเสียหาย -ตาราง 4.7 แสดงคุณสมบัติของตัวแปรและความสัมพันธ์ของค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา -ตาราง 5.1 ผู้บริหารท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่กระทำผิดกฎหมาย และระเบียบจากสำนวนคดี 150 กรณี สารบัญภาพ -ภาพ 1.1 แบบจำลองความสัมพันธ์ความเสียหายที่เกิดแก่เงินของรัฐ -ภาพ 2.1 แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ภาพ 3.1 แบบจำลองความสัมพันธ์เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 5 วิธี -ภาพ 4.1 แบบจำลองความสัมพันธ์ความคิดเห็นสาเหตุของการคอร์รัปชัน -ภาพ 4.2 แบบจำลองความสัมพันธ์โครงการศึกษาดูงานต่างประเทศ -ภาพ 4.3 หนังสือความร่วมมือระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดและสถานศึกษา -ภาพ 4.4 แบบจำลองความสัมพันธ์กลุ่มนายก อบต. สมรู้ร่วมคิด -ภาพ 4.5 แบบจำลองความสัมพันธ์การกระทำความผิดของหัวหน้าส่วนการคลัง -ภาพ 4.6 แบบจำลองความสัมพันธ์หัวหน้าส่วนการคลังกับผู้รับจ้างทำบัญชี -ภาพ 4.7 แบบจำลองความสัมพันธ์พฤติกรรมการรับเงินประกันสัญญา -ภาพ 4.8 แบบจำลองความสัมพันธ์กลุ่มนายก อบต. สมรู้ร่วมคิดการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร -ภาพ 5.1 แบบจำลองความสัมพันธ์ของ อบจ. เบิกจ่ายงบรับรอง -ภาพ 6.1 แบบจำลองความสัมพันธ์เส้นทางการหาประโยชน์จากเอกสารประกวดราคา ประวัติผู้วิจัย -นางสาว สุนทรี เนียมณรงค์ ประวัติคณาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ -ศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ -รองศาสตราจารย์ ดร. กรรณิการ์ สุขเกษม ปกหลัง2552
- «
- 1 (current)
- 2
- 3
- »