2.04.05.13 เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล (นบส.) รุ่นที่ 12

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 108
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการตรวจสอบร่างพระราชบัญญัติมิให้มีเนื้อหาจำกัดสิทธิและเสรีภาพอันเป็นการขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
    นภพร ชวรงคกร; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎี -ส่วนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีในการตรวจสอบร่างพระราชบัญญัติมิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ --2.1 หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ---2.1.1 ความหมายของความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ---2.1.2 ความสำคัญของความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ---2.1.3 หลักประกันความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ --2.2 หลักการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย ---2.2.1 ความสำคัญของการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย ---2.2.2 ลักษณะทั่วไปของการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย --2.3 หลักความชอบด้วยกฎหมายในทางเนื้อหา ---2.3.1 หลักความมั่นคงของกฎหมาย ---2.3.2 หลักห้ามมิให้กฎหมายมีผลย้อนหลัง ---2.3.3 หลักความพอสมควรแก่เหตุ -ส่วนที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพ --2.4 แนวคิดเรื่องสิทธิและเสรีภาพ --2.5 ความหมายของสิทธิและเสรีภาพ --2.6 ประเภทของสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ---2.6.1 สิทธิและเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน ---2.6.2 สิทธิและเสรีภาพในทางการเมือง ---2.6.3 สิทธิและเสรีภาพในทางเศรษฐกิจและสังคม บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 วิธีการที่ใช้ในการศึกษา -3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย -3.3 วิธีการรวบรวมข้อมูล -3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 แนวทางการดำเนินการ -4.1 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย --4.1.1 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายก่อนประกาศใช้ --4.1.2 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหลังประกาศใช้ --4.1.3 ผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ -4.2 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติโดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา --4.2.1 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติของสำนักกรรมาธิการ --4.2.2 การตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติของสำนักกฎหมาย บทที่ 5 ผลการศึกษา -5.1 แนวคิดเกี่ยวกับหลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ หลักการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย และหลักความชอบด้วยกฎหมายในทางเนื้อหา -5.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพ -5.3 การศึกษา วิเคราะห์ และสรุปคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ กรณีบทบัญญัติแห่งกฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพอันเป็นการขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ --5.3.1 กรณีร่างพระราชบัญญัติมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ เมื่อใช้บังคับเป็นกฎหมายแล้ว ทำให้ข้อความนั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ --5.3.2 กรณีร่างพระราชบัญญัติมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ เมื่อใช้บังคับเป็นกฎหมายแล้ว ในทางปฏิบัติมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ทำให้บุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพไม่สามารถยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ --5.3.3 สรุปคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญกรณีบทบัญญัติแห่งกฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพอันเป็นการขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -6.1 บทสรุป -6.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเสนอความเห็นทางกฎหมาย ศึกษากรณี การจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเพื่อการสนับสนุนงานของฝ่ายนิติบัญญัติ
    พรภิวรรณ ชีวะเสริมส่ง; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563-11)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -2. วัตถุประสงค์การศึกษา -3. แนวทางการศึกษา -4. นิยามศัพท์เฉพาะ -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดเกี่ยวกับบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ -2. การตีความกฎหมาย --2.1 ความหมายการตีความกฎหมายหรือการตีความบทบัญญัติของกฎหมาย --2.2 ความสำคัญของการตีความกฎหมาย --2.3 หลักการตีความกฎหมายทั่วไป -3. การให้ความเห็นหรือการเสนอความเห็นทางกฎหมาย -4. หลักวิชาที่เกี่ยวกับการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ --4.1 หลักวิชาว่าด้วยหลักการสำคัญในการร่างสัญญา --4.2 หลักการตีความสัญญา -5. หลักวิชาว่าด้วยนิติกรรมสัญญา -6. แนวคิด/หลักวิชาเกี่ยวกับการตรวจร่างสัญญา -7. หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง --7.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย --7.2 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ --7.3 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 --7.4 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 --7.5 พระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานของสหประชาชาติและทบวงการชำนัญพิเศษในประเทศไทย พ.ศ. 2504 --7.6 พระราชกฤษฎีกาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 --7.7 ระเบียบสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. ขอบเขตการศึกษา -2. วิธีการศึกษา -3. กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -1. ปัญหา/ข้อขัดข้อง -2. ลักษณะของปัญหาหรือข้อขัดข้องที่เกิดขึ้น บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ -1. สรุปผลการศึกษา -2. ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก สถิติการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ ของสำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์) ระหว่างเดือนมกราคม 2556-เดือนกรกฎาคม 2563 ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563-11
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    กระบวนการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ
    ณัฏฐพฤทธิ์ หลาวทอง; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา -3. ขอบเขตการศึกษา -4. นิยามศัพท์ -5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ -2.2 แนวคิดการบริหารและการติดตามงบประมาณ -2.3 พระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 -2.4 กฎหมายงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. ขอบเขตการศึกษา -2. วิธีการศึกษา -3. ประชากรในการศึกษา -4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -5. ระยะเวลาในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -1. ความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และการจัดทำยุทธศาสตร์ในต่างประเทศ -2. กระบวนการงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ -3. กฎหมายด้านงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ -4. การประชุมระดมสมอง (Brainstorming) ของบุคลากรกลุ่มงานคณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทำและติดตามการบริหารงบประมาณ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 อภิปรายผล -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การจัดทำองค์ความรู้ด้านอุตสาหกรรมแปรรูปข้าวไทย เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานคณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม
    ฉายะพันธุ์ ระวังสำโรง; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -2. วัตถุประสงค์การศึกษา -3. แนวทางการศึกษา -4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยเกี่ยวข้อง -1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นการเกษตร -2. แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561-2564 -3. แนวคิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management) -4. แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน -5. แนวคิดการสร้างนวัตกรรมของข้าว -6. แนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) -7. อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารในยุค 4.0 -8. ตลาดสินค้าแปรรูปจากข้าวของออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกา -9. การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปข้าวไทยต่อการปรับเปลี่ยนเพื่อเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. วิธีการศึกษา -2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล -3. การวิเคราะห์ข้อมูล -4. ระยะเวลาในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -1. ข้อมูลและสถิติอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว -2. ผลการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมแปรรูปข้าว -3. ผลการศึกษาสภาพปัญหาของการให้บริการข้อมูลวิชาการด้านอุตสาหกรรมแปรรูปข้าวของไทย บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    นโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย : ปัญหาผลกระทบและข้อเสนอแนะ
    คณิต คำนวณผล; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2. การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของประเทศไทย --2.1 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) --2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) --2.3 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558-2564) -3. ข้อมูลแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย -4. ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยที่ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจจากนโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย -5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา -1. วิธีการศึกษา -2. การเก็บรวบรวมข้อมูล -3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล -5. การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการสัมภาษณ์ประเด็นนโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย -ส่วนที่ 1 มุมมอง ทัศนะต่อนโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยของกรรมาธิการและอนุกรรมาธิการที่ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ สภาผู้แทนราษฎร -ส่วนที่ 2 มุมมอง ทัศนะต่อนโยบายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยของกลุ่มธุรกิจภาคเอกชนที่มีการพึ่งพาแรงงานต่างด้าว บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ -1. สรุปผลการศึกษา -2. อภิปรายผลการศึกษา -3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางพัฒนาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร สถาบันนิติบัญญัติของกลุ่มงานสื่อสารมวลชน ผ่านแอปพลิเคชันไลน์เพื่อความเป็นเอกภาพ ในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์
    จิรวดี บุษราคัม; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1. ที่มาและความสำคัญของปัญหา -2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา -3. ขอบเขตการศึกษา -4. วิธีการศึกษา -5. นิยามศัพท์ -6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -1. แนวคิดที่เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ -2. ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร -3. ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์ -4. ความหมายของเทคโนโลยีสื่อสารและ แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัล -5. การวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 6 เรื่อง -6. การเชื่อมโยงแนวคิด ทฤษฎี กับแนวทางพัฒนาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารสถาบันนิติบัญญัติของกลุ่มงานสื่อมวลชนผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อความเป็นเอกภาพในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ บทที่ 3 วิธีการศึกษา -1. ขอบเขตของการศึกษา --1.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.2 ประชากรในการศึกษา --1.3 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา --1.4 ระยะเวลาในการศึกษา -2. วิธีการศึกษา -3. กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 สภาพการดำเนินงานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารสถาบันนิติบัญญัติของกลุ่มงานสื่อมวลชนผ่านแอปพลิเคชันไลน์เพื่อความเป็นเอกภาพในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ -4.2 ขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ -4.3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารสถาบันนิติบัญญัติของกลุ่มงานสื่อมวลชนผ่านแอปพลิเคชันไลน์เพื่อความเป็นเอกภาพในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ -สรุปผลการศึกษา -ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนงานด้านนิติบัญญัติ
    เกศชนก เสียงเปรม; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -2.2 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว --2.2.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การท่องเที่ยว --2.2.2 แผนการปฏิรูปประเทศ ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว -2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยว -2.4 นโยบายการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว --2.4.1 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา --2.4.2 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย -2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน -2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน -2.7 แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง (Risk) -2.8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 วิธีการศึกษา -3.2 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล -3.3 ขั้นตอนการจัดทำแผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา -3.4 ประชากรในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 วิเคราะห์ผลการศึกษา --4.1.1 วิเคราะห์จากเอกสาร --4.1.2 การสังเกตการณ์การปฏิบัติงานของผู้ศึกษา --4.1.3 ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์ -4.2 วิเคราะห์สภาพปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ -4.3 วิเคราะห์แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา -ภาคผนวก ข แผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา กรณีสภาวะไม่ปกติ -ภาคผนวก ค สรุปบทสัมภาษณ์ "แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว วุฒิสภา" ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การศึกษาความหมาย "ภารกิจงานราชการ" ของประธานรัฐสภา ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    กันยาวีร์ ศิริโลหะสาร; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 ระยะเวลาในการศึกษา -1.5 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎี -2.1 ความหมายของงานราชการ -2.2 ภารกิจงานของประธานรัฐสภา -2.3 อำนาจหน้าที่ของกลุ่มงานประธานสภาผู้แทนราษฎร -2.4 ทฤษฎีการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน -2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 เนื้องานที่จะศึกษา -3.2 แหล่งข้อมูลในการศึกษา -3.3 วิธีการและขั้นตอนดำเนินการศึกษา -3.4 รูปแบบและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 บทบาท อำนาจหน้าที่ของประธานรัฐสภา -4.2 อำนาจหน้าที่ของกลุ่มงานประธานสภาผู้แทนราษฎร -4.3 วิเคราะห์สรุปผลจากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับภารกิจงานของประธานรัฐสภาและหน้าที่ของกลุ่มงานประธานสภาผู้แทนราษฎร -4.4 วิเคราะห์สรุปผลจากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับความหมายของ "งานราชการ" และ "ภารกิจงานของประธานรัฐสภา" ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม -4.5 การวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง -4.6 สรุปผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปและเสนอแนะ -5.1 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของกลุ่มงานประธานสภาผู้แทนราษฎร -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาแบบจำลองแอปพลิเคชันสำหรับสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกวุฒิสภา (Prototype of Senate Application)
    นักศึกษากลุ่มที่ 10; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ประเด็นการศึกษา -1.4 ขอบเขตการศึกษา -1.5 ประชากรในการศึกษา -1.6 วิธีการดำเนินการศึกษา -1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.8 นิยามศัพท์ บทที่ 2 กฎหมาย ยุทธศาสตร์ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในส่วนของหน้าที่และอำนาจของวุฒิสภา -2.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ที่บัญญัติไว้เกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล -2.3 พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 -2.4 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 -2.5 แผนการปฏิรูปประเทศ -2.6 แผนปฏิบัติราชการสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา พ.ศ. 2563-2565 -2.7 แผนพัฒนา Digital Parliament ของรัฐสภาระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) -2.8 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาลดิจิทัล ดิจิทัลไทยแลนด์ -2.9 ระบบราชการ 4.0 -2.10 มาตรฐานของการให้บริการดิจิทัล (Digital Service Standard) -2.11 รูปแบบการใช้เทคโนโลยีของรัฐสภาต่างประเทศ -2.12 การพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในต่างประเทศ -2.13 มาตรฐานแอปพลิเคชันภาครัฐสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Government Mobile Application Standard) -2.14 แนวทางการพัฒนา Mobile Application -2.15 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.16 กรอบแนวคิดการศึกษา บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 การศึกษาแบบผสมผสาน -3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล -3.6 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ -5.3 ข้อเสนอแนะจากคณะผู้ศึกษา บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการยกระดับงานบริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
    นักศึกษากลุ่มที่ 3; สถาบันพระปกเกล้า (สถาบันพระปกเกล้า, 2563)
    ปกหน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตของการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 กฎหมาย แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง -2.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง -2.2 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำงบประมาณ -2.3 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ภาพรวมการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย -3.1 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย -3.2 การให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -3.3 ความเชื่อมโยงกรอบแนวคิดทฤษฎีในการจัดทำข้อเสนอแนวทางการยกระดับการให้บริการ บทที่ 4 กรณีศึกษา (Hypothetical Case Study) หลักธรรมาภิบาลในกระบวนการงบประมาณรายจ่ายประจำปี -4.1 กรณีศึกษา : การใช้หลักธรรมาภิบาลในกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -4.2 กรณีศึกษา : กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 -4.3 กรณีศึกษา : การใช้งบประมาณที่เสนอขอมาอย่างมีประสิทธิภาพ หรือสามารถนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -4.4 กรณีศึกษา : การปรับตัวของหน่วยงานให้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ในกรณีที่ถูกตัดงบประมาณลง ร้อยละ 10 ไปใช้เป็นงบประมาณงบกลาง เพื่อใช้ในสถานการณ์การระบาดของโรค Covid-19 บทที่ 5 สรุปข้อค้นพบจากการศึกษา และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปข้อค้นพบจากการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนวทางการยกระดับการให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -5.3 ความเป็นไปได้ต่อแนวทางการยกระดับการให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก 1 แบบสำรวจแนวทางการยกระดับการให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -ภาคผนวก 2 แบบสัมภาษณ์แนวทางการยกระดับการให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -ภาคผนวก 3 แบบสำรวจความพึงพอใจการสนับสนุนคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประวัติผู้ศึกษา ปกหลัง
    2563