2.04.05.12 เอกสารวิชาการกรณีศึกษาส่วนบุคคล (นบส.) รุ่นที่ 11

URI แบบถาวรของกลุ่มข้อมูลนี้

เรียกดู

รายการที่เพิ่มล่าสุด

แสดง 1 - 10 จากทั้งหมด 93
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการบริหารกำลังคนของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ
    อารียา พรหมแสง (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-08)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 ขอบเขตของการศึกษา -1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ -1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 ข้อกฎหมาย -2.2 ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ -2.3 ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2561 - 2565) -2.4 แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา -2.5 มาตรการบริหารกำลังคนของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา (พ.ศ. 2561 - 2565) -2.6 แนวคิด/ทฤษฎี บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 กลุ่มตัวอย่าง -3.2 รูปแบบของการศึกษา -3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.4 วิธีการดำเนินการศึกษา -3.5 วิธีการวิเคราะห์ บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ผลการศึกษาขนาดกำลังคนและค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรภาครัฐ -4.2 ผลการศึกษาภารกิจของรัฐสภาและภารกิจของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาตามบริบทขอลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -4.3 ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก (In - Depth Interview) บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์เชิงลึก -ภาคผนวก ข สรุปบทสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ประวัติผู้ศึกษา
    2562-08
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การพัฒนาแนวทางการบริการข้อมูลวิชาการในยุคดิจิทัล
    อาริยา สุขโต (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-06-09)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management : KM) -2.2 ทักษะและความรู้ดิจิทัล -2.3 แผนพัฒนา Digital Parliament ของรัฐสภา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) -2.4 การให้บริการข้อมูลวิชาการ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา -3.2 วิธีดำเนินการศึกษา -3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -3.4 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล -3.5 กรอบความคิดในการศึกษา -3.6 ระยะเวลาในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ด้านข้อมูลวิชาการ -4.2 ด้านบุคลากร -4.3 ด้านรูปแบบ/การนำเสนอ บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษารูปแบบการจัดทำ การนำเสนอข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลในยุคดิจิทัล -5.2 ปัญหาและปัจจัยที่เป็นอุปสรรค -5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จากการสัมภาษณ์สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ -สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของกลุ่มงานบริการวิชาการ 1 กลุ่มงานบริการวิชาการ 2 และกลุ่มงานบริการวิชาการ 3 เดือนตุลาคม 2560 - มีนาคม 2561 -สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของกลุ่มงานบริการวิชาการ 1 2 3 เดือนเมษายน 2560 - มิถุนายน 2560 ประวัติผู้ศึกษา
    2562-06-09
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การศึกษาเพื่อจัดทำคู่มือการจัดทำเอกสารวิชาการประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สองขั้นกรรมาธิการ
    อานันท์ เกียรติสารพิภพ (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-06-28)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตการศึกษา -1.4 วิธีดำเนินการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ -1.6 นิยามศัพท์ บทที่ 2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง -2.1 แนวคิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management) -2.2 หลักการการเขียนงานเชิงวิชาการ -2.3 แนวคิด SW)T Analysis -2.4 แนวคิดการวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมาย -2.5 แนวคิดการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน -2.6 งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 กระบวนการดำเนินงานของการศึกษาเพื่อจัดทำคู่มือการจัดทำเอกสารวิชาการประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สองขั้นกรรมาธิการ -3.1 บทบาท อำนาจหน้าที่ของสำนักวิชาการ -3.2 ความสำคัญของพระราชบัญญัติ -3.3 กระบวนการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสำนักวิชาการ -3.4 สภาพปัญหา ข้อจำกัดและอุปสรรคของการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่หนึ่งของสำนักวิชาการที่ทำให้ไม่สามารถตอบสนองต่อการพิจารณาร่างพะราชบัญญัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ -3.5 แนวทางในการแก้ไขปัญหา ข้อจำกัด และอุปสรรคของการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการของที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร บทที่ 4 การจัดทำคู่มือการจัดทำเอกสารวิชาการประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สองขั้นกรรมาธิการ -4.1 การออกแบบคู่มือการจัดทำเอกสารวิชาการประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สองขั้นกรรมาธิการ -4.2 โครงสร้างเอกสารวิชาการประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่สองขั้นกรรมาธิการ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
    2562-06-28
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมาธิการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
    อรัญ มีแก้ว (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-06-09)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ประเด็นการศึกษา -1.4 ขอบเขตการศึกษา -1.5 วิธีดำเนินการศึกษา -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎี -2.1 ความหมายของจริยธรรม -2.2 ทฤษฎีทางจริยธรรม --2.2.1 ทฤษฎีอิทธิพลของสังคมต่อการพัฒนาการทางจริยธรรม --2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม --2.2.3 ทฤษฎีจริยธรรมพัฒนาการทางสติปัญญา -2.3 มาตรฐานทางจริยธรรม --2.3.1 ทฤษฎีหน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม --2.3.2 ทฤษฎีความสุขเป็นมาตรฐานของจริยธรรม --2.3.3 ทฤษฎีความอยู่รอดเป็นมาตรฐานของศีลธรรม --2.3.4 ทฤษฎีความดีสูงสุดตามทัศนะของนักปรัชญา -2.4 หลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินการทางจริยธรรม --2.4.1 ลักษณะสำคัญของกฎหมายที่ให้อำนาจฝ่ายปกครองกระทำการ --2.4.2 หลักในการดำเนินการทางจริยธรรม -2.5 หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง --2.5.1 หลักการกระทำทางปกครองต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย --2.5.2 หลักไม่มีกฎหมาย ไม่มีอำนาจ --2.5.3 หลักการรับฟังผู้ถูกกระทบสิทธิ -2.6 หลักกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย --2.6.1 หลักความไม่มีส่วนได้ส่วนเสียของเจ้าหน้าที่ --2.6.2 หลักการรับฟังผู้ถูกกระทบสิทธิ --2.6.3 หลักการต้องให้เหตุผลประกอบการออกคำสั่งทางปกครอง --2.6.4 หลักการจดแจ้งสิทธิอุทธรณ์โต้แย้งคำสั่งทางปกครอง บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) -3.2 การสัมภาษณ์ (In-depth interview) -3.3 ขั้นตอนการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ความเป็นมาของประมวลจริยธรรม --4.1.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 --4.1.2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 --4.1.3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -4.2 คณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --4.2.1 โครงสร้างคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --4.2.2 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา -4.3 กระบวนการสอบสวนจริยธรรม -4.4 กรณีศึกษาปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --4.4.1ปัญหาประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภาไม่ชัดเจนในประเด็นอำนาจการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --4.4.2 ปัญหาการกำหนดอำนาจสอบสวนข้อเท็จจริงเบื้องต้นในระเบียบเกินหลักการตามประมวลจริยธรรม --4.4.3 ปัญหาการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย --4.4.4 ปัญหาโครงสร้างของกลุ่มงานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม --4.4.5 ประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุปผลการศึกษา --5.1.1 ปัญหาประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภาไม่ชัดเจนในประเด็นอำนาจการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --5.1.2 ปัญหาการกำหนดอำนาจสอบสวนข้อเท็จจริงเบื้องต้นในระเบียบเกินหลักการตามประมวลจริยธรรม --5.1.3 ปัญหาการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย --5.1.4 ปัญหาโครงสร้างของกลุ่มงานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม --5.1.5 ประเด็นปัญหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ -5.2 ข้อเสนอแนะ --5.2.1 การแก้ไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา --5.2.2 ปรับปรุงโครงสร้างของกลุ่มงานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
    2562-06-09
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการพัฒนาบุคลากรในการประชุมคณะกรรมาธิการโดยการสอนงาน ของบุคลากรในกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา
    อรทัย แหวนนาค (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-07)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎี -2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (Competency) -2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสอนงาน -2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน -2.4 แนวคิดวิธีการระบบ (Systems Approach) บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 วิธีการศึกษา -3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษาและการวิเคราะห์ -4.1 การวิเคราะห์เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง -4.2 การวิเคราะห์จากความต้องการของสมาชิกวุฒิสภา -4.3 สถิติจำนวนข้าราชการ -4.4 การศึกษาวิเคราะห์จากเอกสารทางวิชาการ -4.5 วิเคราะห์จากแบบสอบถาม -4.6 การวิเคราะห์การสอนงานภายในกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน สำนักกรรมาธิการ 2 -4.7 องค์กรที่มีการจัดทำคู่มือการสอนงาน -4.8 แนวทางการพัฒนาบุคลากรในการประชุมคณะกรรมาธิการ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -คู่มือการสอนงาน ประวัติย่อผู้ศึกษา
    2562-07
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การศึกษาเพื่อจัดทำคู่มือการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศของกลุ่มงานบริการวิชาการ สำนักวิชาการ
    อรณิช รุ่งธิปานนท์ (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-07-15)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ขอบเขตของการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.5 นิยามศัพท์ -1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง -2.1 บทบาทของรัฐสภาในกระบวนการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศตามมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 -2.2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) -2.3 การจัดทำคู่มือ -2.4 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 การจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศสภาพปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มงานบริการวิชาการ -3.1 โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของสำนักวิชาการ -3.2 อำนาจหน้าที่ของกลุ่มงานบริการวิชาการ สำนักวิชาการ -3.3 ขั้นตอนการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศของกลุ่มงานบริการวิชาการ สำนักวิชาการ -3.4 สภาพปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ บทที่ 4 แนวทางการจัดทำคู่มือการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ -4.1 คุณลักษณะของเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ -4.2 โครงร่างคู่มือการจัดทำเอกสารประกอบการพิจารณาหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
    2562-07-15
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการจัดทำคู่มือการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
    อรญา อิศรพันธุ์ (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-01)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง -1.2 วัตถุประสงค์ -1.3 ขอบเขตของการศึกษา -1.4 วิธีการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -2.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง -2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) -2.3 ระเบียบ ประกาศ และแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา บทที่ 3 กระบวนการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -3.1 วิธีการศึกษา -3.2 กระบวนการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา -3.3 กระบวนการในการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณาทบทวนกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา บทที่ 4 ผลการศึกษาและวิเคราะห์ -4.1 ผลการศึกษา -4.2 วิเคราะห์สภาพปัญหา บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 สรุปผลการศึกษา -5.2 อภิปรายผลการศึกษา -5.3 ข้อเสนอแนะ -5.4 เงื่อนไขความสำเร็จ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสอบถามความพึงพอใจต่อคู่มือการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา -ภาคผนวก ข ร่างคู่มือการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประวัติผู้ศึกษา
    2562-01
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การศึกษาแนวทางกำหนดมาตรฐานการลงโทษทางวินัยข้าราชการรัฐสภาสามัญ
    อมรรัตน์ เจือจาน (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-07)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนำ -1.1 ที่มาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา --1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --1.3.2 ระยะเวลาในการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา --1.4.1 วิธีการศึกษา --1.4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -2.1 ข้อความคิดเกี่ยวกับวินัยข้าราชการและการลงโทษทางวินิย -2.2 หลักการวินิจฉัยข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน -2.3 หลักการใช้อำนาจดุลพินิจของฝ่ายปกครอง -2.4 หลักการพิจารณาความผิดและการกำหนดโทษ -2.5 หลักการตีความกฎหมาย -2.6 หลักความได้สัดส่วน -2.7 กฎหมาย กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา -3.1 วิธีการที่ใช้ศึกษา -3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล -3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ขั้นตอนการดำเนินการทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวน ตามกฎ ก.ร. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2557 -4.2 โครงสร้างความผิดทางวินัยและการลงโทษทางวินัย --4.2.1 โครงสร้างความผิดทางวินัย --4.2.2 การลงโทษทางวินัย -4.3 วิเคราะห์ลักษณะการกระทำผิดวินัยของข้าราชการรัฐสภาสามัญ -4.4 แนวทางการพิจารณาความผิดและการกำหนดโทษทางวินัย --4.4.1 หลักการพิจารณาความผิดทางวินัย --4.4.2 หลักเกณฑ์การกำหนดโทษทางวินัย -4.5 การศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการพิจารณาและมาตรฐานการลงโทษทางวินัยของข้าราชการในส่วนราชการอื่น --4.5.1 การกำหนดแนวทางการพิจารณาและมาตรฐานการลงโทษของข้าราชการพลเรือนสามัญ --4.5.2 การกำหนดแนวทางการพิจารณาและมาตรฐานการลงโทษของข้าราชการตำรวจ -4.6 สภาพปัญหาการดำเนินการของคณะกรรมการสอบสวนวินัยในการพิจารณาความผิดและกำหนดโทษทางวินัย บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางกำหนดมาตรฐานการลงโทษทางวินัยของข้าราชการรัฐสภาสามัญ -ภาคผนวก ข แนวทางการลงโทษทางวินัยของข้าราชการรัฐสภาสามัญ ประวัติผู้ศึกษา
    2562-07
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    การนำสมรรถนะด้านประชาคมอาเซียนมาพัฒนาข้าราชการรัฐสภาสามัญเพื่อรองรับงานประชุมสมัชชารัฐสภาอาเซียน : กรณีศึกษา ข้าราชการสำนักงานศูนย์ประชาคมอาเซียน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และเครือข่าย
    หะรินทร์ สูตะบุตร (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-06)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการศึกษา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา -1.4 ขอบเขตการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -2.1 แผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรที่เกี่ยวข้อง -2.2 แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ การประเมินและพัฒนาสมรรถนะ และสมรรถนะด้านประชาคมอาเซียน -2.3 ประชาคมอาเซียนและการประชุมในกรอบสมัชชารัฐสภาอาเซียน บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 ขอบเขตการศึกษา -3.2 กลุ่มเป้าหมาย -3.3 วิธีการดำเนินการศึกษา --3.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล --3.3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล -3.4 การนำเสนอผลการศึกษา -3.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา -4.1 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร -4.2 ข้อมูลจากแบบสอบถาม/สัมภาษณ์ ข้าราชการศูนย์ฯ และเครือข่าย บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ -5.1 บทสรุป -5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก คำถามสัมภาษณ์ -ภาคผนวก ข แบบสอบถาม ประวัติผู้ศึกษา
    2562-06
  • ภาพตัวอย่าง
    รายการข้อมูลเปิดให้เข้าถึงได้
    แนวทางการพัฒนางานของนิติกรสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเพื่อสนับสนุนภารกิจด้านการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างกฎหมาย
    โสภณ ชาตบุษย์จารุ (สถาบันพระปกเกล้า, 2562-08-28)
    ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนำ -1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา -1.3 แนวทางการศึกษา --1.3.1 ขอบเขตการศึกษา --1.3.2 ระยะเวลาในการศึกษา -1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา --1.4.1 วิธีการศึกษา --1.4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ความหมาย แนวคิด และทฤษฎี -ส่วนที่ 2 องค์กรแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการพัฒนางาน --2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ ---2.4.1 ความหมาย ---2.4.2 ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ---2.4.3 ขั้นตอนการจัดการความรู้ ---2.4.4 การแบ่งปันความรู้ --2.5 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร ---2.5.1 ความหมายของการพัฒนาบุคลากร ---2.5.2 ประโยชน์ของการพัฒนาบุคลากร ---2.5.3 รูปแบบการพัฒนาบุคลากร --2.6 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทีม ---2.6.1 ความหมายของทีม ---2.6.2 กิจกรรมของการเรียนรู้เป็นทีม --2.7 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ --2.8 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจและการพัฒนาความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน --2.9 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการประสานงาน --2.10 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ---2.10.1 วัตถุประสงค์ การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ---2.10.2 ประโยชน์การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานต่อองค์การและผู้บังคับบัญชา ---2.10.3 ประโยชน์การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานต่อผู้ปฏิบัติงาน -ส่วนที่ 1 รัฐธรรมนูญกับความเป็นกฎหมายสูงสุด --2.1 รัฐธรรมนูญกับความเป็นกฎหมายสูงสุด ---2.1.1 ความหมาย ---2.1.2 วัตถุประสงค์ของการทำให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ---2.1.3 วิธีทำให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ---2.1.4 ผลของการที่รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด --2.2 องค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญในรูปแบบต่าง ๆ ---2.2.1 การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภา ---2.2.2 การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญโดยศาลยุติธรรม ---2.2.3 การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญโดยองค์กรพิเศษ --2.3 การควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างกฎหมายในประเทศไทย ---2.3.1 กรณีตามมาตรา 132 มาตรา 148 และมาตรา 149 ---2.3.2 กรณีตามมาตรา 139 ---2.3.3 กรณีตามมาตรา 144 วรรคสาม บทที่ 3 วิธีการศึกษา -3.1 ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา -3.2 ขอบเขตการศึกษา --3.2.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา --3.2.2 ขอบเขตของประชากรและกลุ่มเป้าหมาย -3.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา -3.4 วิธีและขั้นตอนดำเนินการศึกษา -3.5 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล -3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการศึกษาทบทวนจากคดีตัวอย่างในการดำเนินการที่ผ่านมา -4.1 ข้อเท็จจริงและปัญหาอุปสรรคจากคดีตัวอย่าง --4.1.1 ขั้นตอนการศึกษาและจัดทำหนังสือเสนอความเห็น --4.1.2 ขั้นตอนการลงลายมือชื่อในหนังสือเสนอความเห็น --4.1.3 ขั้นตอนการจัดส่งหนังสือเสนอความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญ --4.1.4 ขั้นตอนการมีคำสั่งรับหรือไม่รับเรื่องไว้พิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ --4.1.5 ขั้นตอนการจัดทำเอกสารชี้แจงและให้มาให้ถ้อยคำต่อศาลรัฐธรรมนูญ --4.1.6 ขั้นตอนการออกนั่งพิจารณาคดีของศาล --4.1.7 ขั้นตอนการจัดทำคำแถลงการณ์ปิดคดี --4.1.8 ขั้นตอนการมีคำวินิจฉัยของศาล --4.1.9 ขั้นตอนการดำเนินกระบวนพิจารณาและการประสานงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง -4.2 สรุปปัญหาและอุปสรรคจากคดีตัวอย่าง --4.2.1 ปัญหาและอุปสรรคด้านบุคลากร --4.2.2 ปัญหาอุปสรรคด้านระเบียบและข้อกำหนด --4.2.3 ปัญหาและอุปสรรคด้านเครื่องมือสนับสนุนการทำงาน -4.3 ข้อเสนอแนวทางการพัฒนางาน --4.3.1 การพัฒนาด้านบุคลากร --4.3.2 การพัฒนาด้านระเบียบและข้อกำหนด --4.3.3 การพัฒนาด้านเครื่องมือสนับสนุนการทำงาน บทที่ 5 ผลการศึกษาจากเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา -5.1 ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ --5.1.1 ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน --5.1.2 แนวทางการพัฒนางาน -5.2 ผลการศึกษาจากการสนทนากลุ่ม บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา -(1) การพัฒนาด้านบุคลากร -(2) การพัฒนาด้านระบบการทำงานและแรงจูงใจ -(3) การพัฒนาด้านระเบียบและข้อกำหนด -(4) การพัฒนาด้านเครื่องมือสนับสนุนการทำงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก -ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์เพื่อการศึกษาและจัดทำเอกสารวิชาการส่วนบุคคล -ภาคผนวก ข แบบบันทึกข้อมูลการสนทนากลุ่มเพื่อการศึกษาและจัดทำเอกสารวิชาการส่วนบุคคล -ภาคผนวก ค แบบบันทึกสรุปผลการสนทนากลุ่มของผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มเป็นรายบุคคล ประวัติผู้ศึกษา
    2562-08-28